Page 52 - 22373_Fulltext
P. 52
4) ประชุมชี แจงท้าความเข้าใจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้าร่อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกันระหว่างผู้วิจัยกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้าร่อง ผู้วิจัยก้าหนดให้มีการจัดประชุมออนไลน์เพื่อชี แจง
รายละเอียดต่าง ๆ ในคู่มือ พร้อมซักถามและซักซ้อมความเข้าใจ
5) ขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นครั งนี ผู้วิจัย
ยึดแนวทางการขับเคลื่อนท้องถิ่นที่ระบุไว้ในขอบเขตการจ้างศึกษาวิจัยเป็นหลัก โดยมีขั นตอนในการ
ด้าเนินงาน ดังนี
5.1) จัดสัมมนา ครั งที่ 1 เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเสาะหาข้อเท็จจริง และปักหมุดชี เป้า
5.2) จัดสัมมนา ครั งที่ 2 เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาทางออกที่สร้างสรรค์
5.3) จัดสัมมนา ครั งที่ 3 เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนปรับปรุงโครงการให้มีความสมบูรณ์และเริ่มต้น
ขับเคลื่อน (kick off) โครงการในพื นที่
5.4) จัดสัมมนา ครั งที่ 4 เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นติดตาม ประเมินผล และพัฒนา
ต่อเนื่อง
6) น้าเสนอโครงการและบทเรียน สถาบันพระปกเกล้าร่วมกับนักวิจัยจัดให้มีสัมมนาออนไลน์
เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้าเสนอผลการด้าเนินโครงการ (Show cases) หลังจากนั น
7) จัดท้ารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ผู้วิจัยจัดท้ารายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เกี่ยวกับกระบวนการ
การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
ขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เสริมสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาจ้าแนกรายองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น โดยโครงร่างรายงานวิจัยดังกล่าวประกอบไปด้วย (1) บทสรุปผู้บริหารภาษาไทย และ
ภาษาอังกฤษ (2) บทน้า (3) ข้อมูลทั่วไปขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และข้อมูลบริบทพื นที่ (4) สภาพ
ปัญหาความเหลื่อมล ้าทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (5) กระบวนการขับเคลื่อนองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นให้เสริมสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา (6) ผลที่เกิดขึ น: แผนงานหรือโครงการที่
เสริมสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ (7) ข้อเสนอแนะหรือแนว
ทางการขยายผลหรือต่อยอดโครงการที่เสริมสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น
1.7 นิยามศัพท์
ความเสมอภาคทางการศึกษา หมายถึง ความเสมอภาคด้านโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา และความ
เสมอภาคด้านคุณภาพทางการศึกษาของเด็กและเยาวชน 4 กลุ่ม ได้แก่ เด็กปฐมวัย (อายุ 2-5 ปี) เด็ก (อายุ
6-15 ปี) เยาวชน (อายุ 16-18 ปี) และเด็กพิเศษ ที่อยู่ในพื นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้าร่อง
คุณภาพทางการศึกษา หมายถึง การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาหนังสือและอุปกรณ์ การผลิตและพัฒนา
ครู และการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เด็กและเยาวชน หมายถึง เด็กปฐมวัย (อายุ 2-5 ปี) เด็ก (อายุ 6-15 ปี) เยาวชน (อายุ 16-18 ปี)
และเด็กพิเศษที่อยู่ในพื นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้าร่อง
28 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า