Page 47 - 22373_Fulltext
P. 47
ขั นที่ 4 ลงมือท้าจริง
4.1) ลงมือปฏิบัติจริงตามโครงการ และแผนงานที่ได้ก้าหนดไว้
4.2) ให้ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการด้าเนินโครงการ
ขั นที่ 5 ติดตาม ประเมินผล และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
5.1) ก้าหนดช่วงเวลาในการติดตามและประเมินผลโครงการให้ชัดเจน
5.2) ติดตามและประเมินผลโครงการโดยท้าการเปรียบเทียบผลการด้าเนินงานที่เกิดขึ นจริงกับ
ผลที่คาดว่าจะเกิดขึ น
5.3) ติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อท้าให้ทราบว่าการด้าเนินงานเป็นไปตามแผนหรือไม่
มีปัญหาและอุปสรรคอย่างไร และช่วยให้หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้ทันการณ์ นอกจากนี ยังท้าให้ทราบ
ว่าโครงการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายหรือไม่ ซึ่งจะเป็นข้อมูลส้าคัญที่จะช่วยในการตัดสินใจว่าจะด้าเนิน
โครงการต่อไปหรือไม่ หากตัดสินใจด้าเนินโครงการต่อ ก็จะมีข้อมูลที่จะน้ามาใช้ปรับปรุงการด้าเนินโครงการ
ในอนาคต ตลอดจนมีข้อมูลในการวางแผนการขยายผลและพัฒนาความยั่งยืน
5.4) การติดตามและประเมินผลควรท้าเป็นรายตัวชี วัดและให้คะแนนอย่างเป็นระบบ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เริ่มต้นใหม่ (Startup)
กลุ่มองค์กร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีข้อมูลเชิงลึกหรือฐานข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาในพื นที่
ปกครองส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีแผนงานหรือโครงการเสริมสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา แต่ยังไม่ปฏิบัติ
ท้องถิ่นน้าร่อง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ด้าเนินโครงการเสริมสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาแล้ว แต่ยังไม่บรรลุ
เป้าหมาย หรือไม่ประสบความส้าเร็จ
ความเสมอภาค ความเสมอภาคด้านโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาของเด็กและเยาวชนแต่ละกลุ่ม
ทางการศึกษา ความเสมอภาคด้านคุณภาพทางการศึกษาในแต่ละพื นที่
เด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปี
กลุ่มเด็ก เด็กอายุ 6-15 ปี
และเยาวชน เยาวชนอายุ 16-18 ปี การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
เด็กพิเศษ
เสาะหาข้อเท็จจริง
ขั นตอน ปักหมุดและชี เป้า
ขับเคลื่อน พัฒนาทางออกที่สร้างสรรค์
ลงมือท้าจริง
ติดตาม ประเมินผล พัฒนา
ภาพ 1.1 กรอบแนวคิดในการท้าวิจัย
วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า 23