Page 48 - 22373_Fulltext
P. 48

1.5 ขอบเขตการวิจัย

                      งานวิจัยครั งนี มีกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน้าร่องที่สมัครเข้าร่วมโครงการ
              โดยเป็นการศึกษาความเสมอภาคทางการศึกษาใน 2 มิติ ได้แก่ (1) ความเสมอภาคด้านโอกาสในการเข้าถึง

              การศึกษาของเด็กและเยาวชนแต่ละกลุ่ม และ (2) ความเสมอภาคด้านคุณภาพทางการศึกษาในแต่ละพื นที่
              ซึ่งคุณภาพทางการศึกษา หมายความถึง การพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาหนังสือและอุปกรณ์ การผลิตและพัฒนา

              ครู และการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน

                      ส่วนกลุ่มเป้าหมายเด็กและเยาวชนในครั งนี  เป็นการนิยามเด็กและเยาวชนตามมาตรา 54 แห่ง

              รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 ก้าหนดให้รัฐต้องด้าเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี ตั งแต่ก่อนวัย
              เรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ประกอบกับรัฐบาลได้ประกาศนโยบาย
              เรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพตั งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั นพื นฐาน จึงกล่าวได้ว่าเด็กทุกคนควรได้รับ

              การศึกษาตั งแต่ระดับอนุบาลจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ดังนั นจึงสามารถ
              แบ่งกลุ่มเด็กและเยาวชน ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังตารางต่อไปนี


                                              ตาราง 1.1 กลุ่มเด็กและเยาวชน


                        กลุ่มเด็กและเยาวชน                             กลุ่ม

                   (1) เด็กปฐมวัย อายุ 2–5 ปี   (1.1) เด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปี ที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษา
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
                                              (1.2) เด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปี ที่เข้ารับการศึกษาในระดับเตรียมอนุบาล
                                              และอนุบาลศึกษา แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือครอบครัวมีรายได้น้อย


                   (2) เด็ก อายุ 6–15 ปี      (2.1) เด็ก อายุ 6-15 ปี นอกระบบการศึกษา
                                              (2.2) เด็ก อายุ 6-15 ปี ในระบบการศึกษาที่เข้ารับการศึกษาภาคบังคับ
                                              ในระดับประถมศึกษาตอนต้น ประถมศึกษาตอนปลาย หรือมัธยมศึกษา
                                              ตอนต้น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือครอบครัวมีรายได้น้อย

                   (3) เยาวชน อายุ 16–18 ปี   (3.1) เยาวชน อายุ 16-18 ปี นอกระบบการศึกษา
                                              (3.2) เยาวชน อายุ 16-18 ปี ในระบบการศึกษาที่เข้ารับการศึกษาในระดับ
                                              มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)


                   (4) เด็กพิเศษ              เด็กที่จ้าเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือเป็นพิเศษเพิ่มเติมจากวิธีการ
                                              ตามปกติ ทั งในด้านการใช้ชีวิตประจ้าวัน การเรียนรู้ และการเข้าสังคม
                                              อาทิ เด็กที่บกพร่องทางการเห็น เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน เด็กที่
                                              บกพร่องทางสติปัญญา เด็กที่บกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว
                                              หรือสุขภาพ เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่บกพร่องทางการพูด และ
                                              ภาษา เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม หรืออารมณ์เด็กออทิสติกหรือเด็กพิการ
                                              ซ้อน นอกจากนี ยังหมายความรวมถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาสูง เด็กที่มี
                                              ความสามารถพิเศษเฉพาะด้านโดดเด่น และเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์









      24      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53