Page 85 - 22373_Fulltext
P. 85

จัดสถานที่เพื่อการศึกษา ส่งเสริม ท านุบ ารุง รักษาไว้ซึ่งศิลปะ ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณีท้องถิ่น วัฒนธรรม
                ด้านภาษา การด าเนินชีวิตส่งเสริมสนับสนุนการเล่นกีฬา การส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว (เทศบาลเมือง

                เขาสามยอด, 2563)

                          โดยกองการศึกษามีหน่วยงานย่อยที่ดูแลด้านเด็กและเยาวชน ทั้ง (1) ฝ่ายบริหารทั่วไปเกี่ยวกับ
                การศึกษา ได้แก่ งานบริหารบุคคล งานบริหารทั่วไป งานบริหารการศึกษา งานวางแผนและสถิติ งานการเงิน

                และบัญชี  (2) ฝ่ายระดับก่อนวัยเรียนและประถมศึกษา ได้แก่ งานอาคารสถานที่ งานนิเทศก์ งานกิจกรรมเด็ก
                และเยาวชน งานบริการผลิตสื่อการสอน  (3) ฝ่ายระดับมัธยมศึกษา ได้แก่ งานอาคารสถานที่ งานนิเทศก์ งาน

                กิจการนักเรียน งานบริการผลิตสื่อการสอน  (4) ฝ่ายการศึกษาไม่ก าหนดระดับ ทั้งงานการศึกษานอกโรงเรียน
                งานกิจการนักเรียน งานนิเทศ งานบริการสนับสนุนการศึกษา งานกิจกรรมลูกเสือและยุวกาชาด งานส่งเสริม

                และพัฒนาหลักสูตร และงานศึกษาอื่น ๆ (เทศบาลเมืองเขาสามยอด, 2563)

                          นอกจากนี้ เทศบาลเขาสามยอดยังมีบุคลากรในหน่วยงานที่ดูแลด้านการศึกษาโดยตรง โดยมีจ านวน
                ถึง 61 คน (34.7%) ประกอบไปด้วย หัวหน้าฝ่ายบริหารการศึกษา (นักบริหารงานการศึกษาระดับต้น) หัวหน้า

                ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา (นักบริหารงานการศึกษาระดับต้น) นักวิชาการศึกษาช านาญการ นักวิชาการศึกษา
                ช านาญการ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีปฏิบัติงาน ผู้อ านวยการสถานศึกษา คศ.3  ครู คศ.3 (เดิม) - ครู คศ.3

                (เดิม) - ครู คศ.3 (เดิม) - ครู คศ.3 (เดิม) ครูผู้ช่วย (เดิม) เป็นต้น

                          2) ด้านนโยบาย  ส าหรับแผนพัฒนาท้องถิ่น เทศบาลเมืองเขาสามยอดได้บรรจุประเด็นเรื่อง

                การศึกษาไว้ในวิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น กล่าวคือ “4 ปีต่อไปนี้ คุณภาพชีวิตจะดีขึ้นทุกด้าน การศึกษาขั้น
                พื้นฐานจะเป็นเลิศ” โดยมียุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนโดยตรงด้านการศึกษา ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 4

                ยุทธศาสตร์การศึกษาที่มุ่งเน้นมาตรฐานการศึกษา มีเป้าประสงค์เพื่อพัฒนาการศึกษาทั้งระบบเพื่อให้เกิดการ
                เรียนรู้ทั้งในระบบและนอกระบบ (เทศบาลเขาสามยอด, 2564ก) และเมื่อพิจารณาจากบัญชีสรุปโครงการ
                พัฒนาตามแผนพัฒนาท้องถิ่นพบว่า เทศบาลเมืองเขาสามยอดมีโครงการพัฒนาในช่วง 5 ปี ในส่วนของ

                ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์การศึกษาที่มุ่งเน้นมาตรฐานการศึกษา จ านวน 112 โครงการ (20.8%) จ านวนเงิน

                120.905 ล้านบาท (26.1%) (เทศบาลเมืองเขาสามยอด, 2564ก)

                          เมื่อพิจารณาจากบัญชีสรุปโครงการและงบประมาณ ตามแผนการด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ
                พ.ศ. 2564 ของเทศบาลเมืองเขาสามยอดพบว่า ในปีงบประมาณดังกล่าว เทศบาลมีโครงการในยุทธศาสตร์                     การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา

                ที่ 4 ยุทธศาสตร์การศึกษาที่มุ่งเน้นมาตรฐานการศึกษา จ านวน 40 โครงการ (35.7%) โดยมีจ านวน
                งบประมาณเท่ากับ 16.724 ล้านบาท (25.1%) (เทศบาลเมืองเขาสามยอด, 2564ค)


                          3) ด้านสถานศึกษา  ในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองเขาสามยอด มีสถานศึกษารวม 20 แห่ง ใน 3 สังกัด
                (เทศบาลเมืองเขาสามยอด, มปป.ข) ได้แก่

                             3.1) สถานศึกษาสังกัดเทศบาล  เทศบาลเมืองเขาสามยอดมีการจัดการศึกษาในระดับก่อน

                ประถมศึกษา และระดับประถมศึกษา โดยมีโรงเรียนในสังกัด 1 โรงเรียน ได้แก่  โรงเรียนเทศบาลเมืองเขา-
                สามยอด 1 เปิดสอนในระดับอนุบาลถึงประถมศึกษา โดยมีจ านวนนักเรียน 745 คน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

                อีก 6 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กชุบศร มีเด็กนักเรียน 41 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองบัวขาว จ านวน




                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   61
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90