Page 21 - b29259_Fulltext
P. 21

1.  อำานาจอธิปไตย หรืออำานาจรัฐเป็นของประชาชน ดังนั้น

                  การปกครองจึงต้องคำานึงถึงประชาชนเป็นสำาคัญ หรือกล่าวอีก
                  นัยหนึ่งว่า การปกครองย่อมต้องคำานึงถึงประโยชน์สาธารณะ
                  (Public Interest) เป็นหลัก
                                         11

               2.  ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิมนุษยชน และสิทธิเสรีภาพต่าง ๆ
                  ของประชาชนย่อมได้รับการรับรองและคุ้มครองทั้งนี้โดยปริยาย

                                                         12
                  และผ่านบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแล้วแต่กรณี  นอกเหนือ
                  ไปกว่านั้นแล้ว ประชาชนเองต้องมีสิทธิในการเข้าร่วมกับระบบ

                  การเมืองเพื่อปกปักษ์พิทักษ์ป้องกันสิทธิเสรีภาพของตนเองด้วย 13

                                                       14
               3.  รัฐย่อมต้องถูกตรวจสอบได้ (Accountability) โดยประชาชน
                                                  15
                  เสมอและพร้อมรับผิด (Responsibility)  หากปรากฏว่ามิได้ใช้



        11   Andrew Moravcsik and Andrea Sangiovanni, On Democracy and the
        “Public Interest”: in the European Union, 5 Center of European Studies
        Working Paper No.9 (2013).
        12   การที่ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพนั้น จะส่งผลรัฐเข้ามาดูแลเอาใจใส่ให้ความสำาคัญ
        กับประชาชนมากขึ้น อันนี้ จึงนำาไปสู่การสถาปนาการมีส่วนร่วมของประชาชน
        ในการปกครองประเทศอันเป็นแก่นแท้ของระบอบประชาธิปไตยตามสุภาษิตละติน
        ที่ว่า “เสียงของประชาชนคือเสียงของพระเจ้า” (Vox populi Vox dei)
        13   OSCE/ODIHR, Handbook On Observing and Promoting the Participation
        of National Minorities in Electoral Process 26 (2014).
        14   Adam Przeworski, Susan C. Stokes, and Bernard Manin, Democracy,
        Accountability, and Representation 44 (1999).
        15   Id. at 46.




                                 หลักสูตรเตรียมความพร้อมส�าหรับการเมืองระดับชาติ  21 21
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26