Page 64 - b29259_Fulltext
P. 64

ได้ตามระบบปกติภายใต้ “หลักความคุ้มกัน” มิได้หมายความว่า การกระทำา

        ของสมาชิกนั้น ๆ จะไม่เป็นความผิดเลย หรือไม่ต้องรับผิดเฉกเช่นเดียวกับ
        กรณีการปฏิบัติหน้าที่โดยได้รับการคุ้มครองจาก “หลักเอกสิทธิ์” ตามที่
        เคยได้อธิบายไปก่อนหน้านี้ หากแต่เฉพาะในระหว่างสมัยประชุม สมาชิก

        มิอาจถูกดำาเนินการจับกุมคุมขังได้ ทั้งนี้เนื่องจากการดำาเนินการจะเป็น
        อุปสรรคขัดขวางการทำาหน้าที่ แต่เมื่อพ้นหรือหมดสมัยประชุมไปแล้ว

        ก็สามารถดำาเนินคดีได้ตามปกติ  อย่างไรก็ดี ในบางประเทศอย่างประเทศ
                                 158
        สหรัฐอเมริกา เรื่องของการคุ้มกันสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะไม่บังคับใช้
        กับการกระทำาผิดทางอาญาที่ร้ายแรง กระทำาความผิดฐานกบฏ (Treason)

                                                                  159
        และการกระทำาความผิดฐานความมั่นคงของรัฐ (Breach of the Peace)
        เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว หากปรากฏว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้กระทำาความผิด

        ทางอาญาเหล่านี้ก็ย่อมถูกดำาเนินคดีตามกฎหมายและกระบวนการตาม
                      160
        ปกติได้อยู่นั่นเอง












        158    Hélène Ponceu, Privilege and Immunities in Parliament, Const. Parl.
        Inf. 55 (2005).
        159    โปรดอ่าน มาตรา 1 ข้อ 6 ของรัฐธรรมนูญแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา
        160    National Conference of State Legislature, Separation of Powers—
        Legislative Immunity, (Jul. 10, 2017), http://www.ncsl.org/research/
        about-state-legislatures/separation-of-powers-legislative-immunity.aspx.




     64
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69