Page 63 - b29259_Fulltext
P. 63
152
ให้ต้องรับผิดทางกฎหมาย (Legal Responsibility) ได้ ทั้งนี้เพื่อคุ้มครอง
ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแต่ละคนสามารถทำาหน้าที่ในการตรวจสอบ
การทำางานของรัฐบาลในฐานะของหนึ่งในองค์กรของรัฐได้โดยอิสระ
ปราศจากการเกรงกลัวใด ๆ จากการฟ้องร้องดำาเนินคดี กล่าวให้ชัดเจน
153
ยิ่งขึ้นไปก็คือ เอกสิทธิ์นี้นำาไปสู่การสถาปนาการรับรองและคุ้มครอง “เสรีภาพ
ในการพูดของสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎร” (Freedom of Speech in the
House) 154
อนึ่ง การคุ้มครองสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการจับกุมคุมขัง
ระหว่างสมัยประชุมถือเป็น “สิทธิพิเศษ” ของสมาชิกที่มีความสำาคัญยิ่ง 155
กล่าวคือ เพื่อเป็นเครื่องมือประกันว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะสามารถ
ทำาหน้าที่ของตนเองได้อย่างไม่สะดุดหยุดอยู่ แนวคิดว่าด้วย “การคุ้มกัน”
หรือ “Immunities” จึงถือกำาเนิดเกิดขึ้น โดยในระหว่างสมัยประชุม
156
(Session) ซึ่งถือว่าอยู่ในช่วงระยะเวลาปฏิบัติหน้าที่ ด้วยหลักการดังกล่าว
ย่อมส่งผลให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรถูกดำาเนินกระบวนการตามระบบปกติ
157
เฉกเช่นประชาชนทั่วไปได้ การไม่สามารถดำาเนินกระบวนการจับกุมคุมขัง
152 European Parliament, Parliamentary Immunity in Poland 9 (2015).
153 Id. at 13.
154 Nick Goiran, The Role of Parliament in Protecting Free Speech: Four
Very Different Case Studies, Vol.4 The Western Australian Jurist 80 (2013).
155 European Parliament, Parliamentary Immunity in the Member States
in European Community and in the European Parliament 18 (1993).
156 Id. at 8.
157 Robert Myttenaere, The Immunities of Members of Parliament 15
(1998).
หลักสูตรเตรียมความพร้อมส�าหรับการเมืองระดับชาติ 63 63