Page 12 - kpiebook62015
P. 12
การส่งเสริมความเป็นพลเมืองในแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ ที่สามารถเผยแพร่ ถ่ายทอด เป็น
ต้นแบบน าไปปรับใช้ในพื้นที่อื่น
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาปฏิบัติการส่งเสริมความเป็นพลเมืองในพื้นที่บูรณาการ
2. เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้การส่งเสริมความเป็นพลเมือง ภายใต้โครงการปฏิบัติการ
เสริมสร้างพลังพลเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด
1.3 วิธีการศึกษา
เพื่อเข้าถึงองค์ความรู้และปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูลจึง
ใช้วิธีการเชิงคุณภาพ ประกอบด้วย
1) การศึกษาจากเอกสาร ซึ่งหมายถึงรายงานติดตามประเมินการท ากิจกรรมในพื้นที่
รายงานการวัดความเป็นพลเมือง รายงานผลการด าเนินงานในพื้นที่บูรณาการ รวมทั้ง
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์องค์ความรู้เพื่อก าหนด
กรอบและแนวทางในการศึกษา
2) การสังเกตการณ์ โดยใช้การสังเกตแบบมีส่วนร่วม (participatory observation) เพื่อ
ได้ข้อมูลที่ครอบคลุม โดยผู้ศึกษาเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมกับกลุ่มพลเมืองในพื้นที่ศึกษา
3) การสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง
(semi-structure interview) โดยผู้ศึกษาก าหนดค าถามส าคัญไว้เป็นแนวทางในการ
สัมภาษณ์ สัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการแบบสุ่มจ านวน 30 คน และเก็บข้อมูล
จากเวทีถอดบทเรียนในกิจกรรมเวทีพลเมือง วันที่ 14-15 กันยายน 2561
การวิเคราะห์ข้อมูลและสังเคราะห์องค์ความรู้ ผู้ศึกษาจะน าข้อมูลจากเอกสาร การ
สังเกต การสัมภาษณ์ จัดระบบเพื่อวิเคราะห์ ข้อมูลและตีความผลจากการสัมภาษณ์เพื่อหา
ค าตอบที่ตอบวัตถุประสงค์เบื้องต้น และน ามาตรวจสอบโดยใช้วิธีสามเส้า (triangulation) จาก
ข้อมูลที่ได้จากเอกสาร การสังเกต และการสัมภาษณ์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่
ได้รับ ด้วยการเปรียบเทียบดูความสอดคล้องและยืนยันความถูกต้องด้วยการจ าแนกและ
3