Page 21 - kpiebook62015
P. 21

คือ ผู้ที่เชื่อม ประสานแนวความคิดต่าง ๆ ของสมาชิกและองค์กรชุมชน เพื่อน าไปปฏิบัติได้อย่าง

                        เหมาะสม
                                       8.  สมาชิกและองค์กรต่าง ๆ ในชุมชน มีความเข้มแข็ง  พอที่จะช่วยเหลือหรือ

                        พึ่งตนเองได้ ทั้งในเศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม ทั้งใน  ยามปกติและ
                        ประสบกับภาวะวิกฤตต่าง ๆ

                                       9.  เป็นชุมชนสงบสุข ชุมชนเข้มแข็งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาคนให้มี

                        คุณภาพ มีคุณธรรม และมีความสุข การรวมกันเป็นชุมชน และสร้างชุมชนให้เข้มแข็งได้ ก็ท าให้
                        คนและชุมชนมีความสงบสุข บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาชุมชน

                                       10.เป็นการพัฒนาแบบยั่งยืน ชุมชนเข้มแข็งมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วข้างต้น

                        ท าให้ชุมชนด ารงอยู่และด ารงต่อไปได้ โดยไม่ล่มสลาย อันเป็นการพัฒนาแบบยั่งยืน


                                นภาภรณ์ หะวานนท์ และ คณะ (2550, น. 147 และ 150) กล่าวถึงความเข้มแข็งของ

                        ชุมชน คือ ความสามารถในการจัดการสังคมของชุมชนให้สามารถร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นใน
                        ชุมชน โดยไม่ต้องรอความช่วยเหลือจากภายนอก ชุมชนมีศักยภาพในการใช้กลไกที่มีอยู่ใน

                        ท้องถิ่น เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดการปัญหาและมีส่วนร่วมกันในการแก้ไข
                        ปัญหา และสามารถผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือหน่วยงานของรัฐที่มีอยู่ในท้องถิ่น

                        ด าเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชนได้ ซึ่งนภาภรณ์ และคณะเสนอตัวชี้วัดไว้ดังนี้

                                       1. การแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยไม่ต้องพึ่งภายนอก
                                       2. ตอบสนองความต้องการของชุมชนโดยองค์กรในท้องถิ่น

                                       3. ความส าเร็จของการแก้ไขปัญหาคือการส่งผ่านปัญหาสู่องค์กรปกครองส่วน
                         ท้องถิ่น

                                       4. โดยมีเงื่อนไขส าคัญคือ

                                              1) ผู้น า คือ การมีผู้น าที่ชุมชนมีความศรัทธา มีความสัมพันธ์ที่ดี
                                          ระหว่างผู้น า มีการยอมรับนับถือผู้น า ผู้น ามีใจเปิดกว้าง

                                              2) ความสัมพันธ์ทางสังคมของคนในชุมชน คือมีความกลมเกลียว มี

                                          สวัสดิการสังคมของชุมชน มีความร่วมมือคัดค้านโครงการที่ไม่มีประโยชน์
                                          และ มีการช่วยเหลือกันทางด้านแรงงาน

                                          5. การเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะโดยสมัครใจของสมาชิกชุมชน
                                          6. มีการตรวจสอบการท างานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ

                        หน่วยงานในชุมชน




                                                               12
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26