Page 60 - kpiebook62016
P. 60

43







                       เริ่มต้นที่ก าหนดให้มีการเลือกตั้งประธานาธิบดีทางตรงที่แยกขาดจากสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ ซึ่งเปิด
                       โอกาสให้พรรคฝ่ายค้านสามารถคุมเสียงข้างมากในสภาได้ น าไปสู่การตรวจสอบฝ่ายบริหารที่เข้มข้น

                       ขึ้นกว่าระบบเดิมที่ต าแหน่งประธานาธิบดีถูกผูกโยงเข้ากับจ านวนที่นั่งของสมาชิกสมัชชาแห่งชาติ

                                                                                                 98
                       ส่งผลให้ประธานาธิบดีได้รับการสนับสนุนจากเสียงข้างมากในสภาอยู่เสมอ  นอกจากนี้
                                                                        99
                       ประธานาธิบดียังไม่สามารถประกาศยุบสมัชชาแห่งชาติได้


                              อ านาจที่เพิ่มขึ้นของฝ่ายนิติบัญญัติภายใต้รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1987 ได้แก่ อ านาจในการ
                                                                                                    100
                       ตรวจสอบฝ่ายบริหาร เช่น อ านาจในการรับรองนายกรัฐมนตรีที่ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง  อ านาจ
                                                                            101
                       ยกเลิกการใช้อ านาจในสถานการณ์ฉุกเฉินของประธานาธิบดี   อ านาจในการออกกฎหมายแม้จะ
                                                                                          102
                       ไม่ได้รับความเห็นชอบจากประธานาธิบดี หากยืนยันด้วยคะแนนเสียง 2 ใน 3  อ านาจในการขอให้
                                                                                  103
                       นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีตอบข้อซักถามของสมัชชาแห่งชาติ  และอ านาจในการถอดถอน
                       ประธานาธิบดี นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้พิพากษา คณะกรรมการการ

                       เลือกตั้ง ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน (Board  of  Audit  Inspection) และเจ้าหน้าที่รัฐอื่นๆ ตามกฎหมายที่

                       ออกมาภายหลัง


                              ในส่วนของอ านาจของตุลาการ รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1987 ได้ก าหนดให้ประธานาธิบดีเป็นผู้แต่งตั้ง

                       ประธานศาลฎีกาภายใต้ความเห็นชอบจากสมัชชาแห่งชาติ และให้ประธานศาลฎีกาเป็นผู้เสนอชื่อ
                                                        104
                       ผู้พิพากษาศาลฎีกาต่อประธานาธิบดี  โดยประธานศาลฎีกามีวาระในการด ารงต าแหน่ง 6 ปีและ
                       สามารถด ารงต าแหน่งได้เพียงหนึ่งวาระเท่านั้น ขณะที่ผู้พิพากษาศาลฎีกามีวาระในการด ารงต าแหน่ง

                       6 ปี และผู้พิพากษาอื่นๆ มีวาระในการด ารงต าแหน่ง 10 ปี โดยผู้พิพากษาศาลฎีกาและศาลอื่นๆ








                       98  Ibid., p. 100.
                       99  EAF Editorial Group, ‚Where’s South Korea’s democracy headed?,‛ East Asia Forum [online], April 4, 2016, Available

                       from http://www.eastasiaforum.org/2016/04/11/wheres-south-koreas-democracy-headed/.
                       100  Constitution of the Republic of Korea, Article 86.
                       101  Constitution of the Republic of Korea, Article 76.
                       102  Constitution of the Republic of Korea, Article 53.
                       103
                         Constitution of the Republic of Korea, Article 62.
                       104  Constitution of the Republic of Korea, Article 104.
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65