Page 248 - kpiebook65020
P. 248

209
                                                                                     รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
                                    โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”

               จะต้องด าเนินการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมายนั้น ประกอบด้วย พระราชบัญญัติประกอบ
               รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ และประมวลกฎหมาย รวมถึง “กฎ” ตามกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทาง

               ปกครอง ที่มีผลให้เกิดภาระแก่ประชาชน หรือการไม่ปฏิบัติตามจะมีผลให้ต้องได้รับโทษหรือเสียสิทธิ หรือ
               กระทบต่อสถานะของบุคคล

                       นอกจากนี้ ก่อนการตรากฎหมายใดเพื่อบังคับใช้กับประชาชน หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดให้มีการรับ
               ฟังความคิดเห็นจากผู้ที่เกี่ยวข้องกับร่างกฎหมายนั้น โดยให้หน่วยงานของรัฐด าเนินการรับฟังความคิดเห็นผ่าน
                                     4
                                                                                                         5
               ระบบกลางหรือวิธีการอื่น  โดยจะต้องน าหลักการหรือประเด็นส าคัญของร่างกฎหมายไปรับฟังความคิดเห็น
               และต้องจัดท าสรุปผลการรับฟังความคิดเห็นและน าผลการรับฟังความคิดเห็นไปประกอบการวิเคราะห์
                                                                   6
               ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายและการจัดท าร่างกฎหมาย
                       ยิ่งไปกว่านั้น หน่วยงานของรัฐจะต้องด าเนินการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่าง
               รอบด้านและเป็นระบบ โดยให้น าผลการรับฟังความคิดเห็นมาประกอบการพิจารณาวิเคราะห์ผลกระทบด้วย

               เมื่อด าเนินการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายแล้ว ให้จัดท าเป็นรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
               ที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตาม “แนวทางการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย”ที่คณะกรรมการ
               พัฒนากฎหมายก าหนดขึ้น โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี โดยใช้ “แบบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
               ที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย” ตามที่ก าหนดในแนวทางการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย
               ดังกล่าว


                       ประเด็นเรื่องการตรวจสอบเนื้อหาในการตรากฎหมายของประเทศไทยนั้น มาตรา 5 แห่ง
               พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
               ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐที่จะเสนอร่างกฎหมายต้องจัดท าและตรวจสอบเนื้อหาของร่างกฎหมายให้
               สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ 5 ประการ ได้แก่ (1)  ร่างกฎหมายต้องสอดคล้องกับหลักการทั่วไปในการตรา
               กฎหมาย (2)  ร่างกฎหมายต้องก าหนดให้มีการใช้ระบบอนุญาตเฉพาะกรณีที่จ าเป็น (3)  ร่างกฎหมายต้อง

               ก าหนดให้มีการใช้ระบบคณะกรรมการเฉพาะกรณีที่จ าเป็น (4) ร่างกฎหมายต้องก าหนดหลักเกณฑ์การใช้
               ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ของรัฐและระยะเวลาในการด าเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้ในร่างกฎหมายนั้น
               ให้ชัดเจน (5)  ร่างกฎหมายต้องสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การก าหนดโทษอาญาอีกด้วย ซึ่งเป็นการผสมผสาน

               มุมมองการตรวจพิจารณาร่างกฎหมายผ่านทางด้านการบริหารจัดการภาครัฐและทางนิติศาสตร์ เพื่อให้
               หน่วยงานได้มีโอกาสทบทวนและไตร่ตรองถึงประสิทธิภาพของมาตรการที่ตนเลือก ผลที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้
               มาตรการดังกล่าว ประกอบกับความชอบด้วยกฎหมายในการเลือกใช้มาตรการนั้น

                       ประเด็นสุดท้ายในการส ารวจองค์ความรู้ คือ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก
               กฎหมาย (การจัดท า Checklist) ซึ่งเป็นตาม“แบบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย”

               แนบท้าย “แนวทางการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย” ที่คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
               ประกาศโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยองค์ประกอบส าคัญ 2 ส่วน กล่าวคือ ส่วนแรก เป็น



               4
                 มาตรา 13 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
               5
                 มาตรา 14 วรรคหนึ่ง พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
               6
                 มาตรา 16 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252   253