Page 42 - kpi20207
P. 42

การปรึกษาหารือสาธารณะ (Public Consultation) : แนวคิด ประสบการณ์
                                    และข้อเสนอรูปแบบสำาหรับการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ  41

                                  จัดทำากฎระเบียบ เพื่อให้ข้อมูลที่สำาคัญต่อต้นทุนและกำาไร

                                  ของทางเลือกด้านต่างๆ อาทิ ประสิทธิผลของทางเลือกนั้น



                             ขั้นตอนการจัดทำารายงานผลการวิเคราะห์ 6 ประการที่กล่าวมา
                     ข้างต้น แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า การรับฟังความคิดเห็นต่อร่างกฎหมาย
                     ในรูปแบบของการปรึกษาหารือสาธารณะเป็นขั้นตอนสำาคัญที่ขาดไม่ได้

                     สำาหรับกระบวนการการวิเคราะห์ผลกระทบในการออกกฎหมาย (ภาพ 2.1)
                     เนื่องจากการปรึกษาหารือสาธารณะจะช่วยให้รัฐบาลและหน่วยงาน

                     ผู้รับผิดชอบสามารถ (1) พัฒนากฎหมายที่ดีขึ้นและปฏิบัติใช้ได้จริง
                     มากขึ้น (2) ระบุและจำาแนกแยกแยะผู้ได้รับผลกระทบได้อย่างรอบคอบ
                     กว้างขวาง (3) ลดความเสี่ยงจากผลที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังการประกาศ

                     ใช้กฎหมายให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และ (4) กำาหนดแนวทางใน
                     การปฏิบัติตามกฎหมายที่จัดทำาขึ้นได้อย่างเหมาะสม (Regulatory Review

                     Department, 2014: 3)


































         01-142 PublicConsult_ok.indd   41                                     22/6/2562 BE   17:26
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47