Page 47 - kpi20207
P. 47
46
ดังกล่าวไปปฏิบัติใช้ การปรึกษาหารือหลังการตัดสินใจจึงเป็นกระบวนการ
รับฟังความคิดเห็นที่เน้นไปที่การปฏิบัติใช้นโยบายโดยเฉพาะการกำาหนด
กรอบระยะเวลาในการดำาเนินการและการทบทวนแผนปฏิบัติการ
อย่างไรก็ตาม ก่อนที่จะมีการจัดกระบวนการปรึกษาหารือหลังการตัดสินใจ
ผู้รับผิดชอบในการออกนโยบายหรือกฎหมายจำาเป็นที่จะต้องชี้แจงต่อ
สาธารณะถึงเหตุผลและความจำาเป็นที่ไม่สามารถจัดการรับฟังความคิดเห็น
ในการจัดทำานโยบายหรือกฎหมายก่อนตัดสินใจได้ ซึ่งเหตุผลและความ
จำาเป็นดังกล่าวจะต้องเป็นประเด็นที่แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าการรับฟัง
ความคิดเห็นก่อนการตัดสินใจจะมีผลกระทบต่อประสิทธิผลในการกำาหนด
และบังคับใช้นโยบายหรือกฎหมายอย่างยิ่งยวดและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
ตาราง 2.1 รูปแบบของการจัดกระบวนการปรึกษาหารือสาธารณะ
รูปแบบ ความหมาย บริบทที่เหมาะสม
และวิธีการ ในการเลือกใช้
(1) การปรึกษาหารือ • การจัดกระบวนการรับ • การจัดทำากฎหมายที่มีความ
สาธารณะเต็มรูปแบบ ฟังความคิดเห็นในการจัด สำาคัญ เกี่ยวข้องกับผู้คนใน
(full public consul- ทำากฎหมายกับผู้เกี่ยวข้อง วงกว้าง
tation) ทุกฝ่าย • ต้องการการตัดสินใจที่
• จัดกระบวนการด้วยวิธี โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
การที่โปร่งใส เปิดกว้าง • ต้องการการตัดสินใจที่มี
และเป็นที่รับรู้และเข้าถึง ความซื่อตรงไม่โน้มเอียงไป
ของสาธารณะตลอด ในทางใดทางหนึ่งหรือมีการ
กระบวนการ ตั้งธงคำาตอบไว้ล่วงหน้า
01-142 PublicConsult_ok.indd 46 22/6/2562 BE 17:26