Page 84 - kpi20207
P. 84

การปรึกษาหารือสาธารณะ (Public Consultation) : แนวคิด ประสบการณ์
                                    และข้อเสนอรูปแบบสำาหรับการรับฟังความคิดเห็นตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ  83








                                              บทที่ 4


                              การปรึกษาหารือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
                         ในการจัดท�ากฎหมายที่ดีของประเทศอังกฤษ












                             นับตั้งแต่รัฐบาลอังกฤษได้มีการกำาหนดแนวทางในการจัดทำา

                    กฎหมายของฝ่ายบริหารโดยการปรับปรุงวิธีการในการจัดทำาการวิเคราะห์
                    ผลกระทบต่อร่างกฎหมายในช่วงทศวรรษที่ 1980s เป็นต้นมา การจัดทำา

                    กระบวนการปรึกษาหารือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เปิดกว้างหรือการปรึกษาหารือ
                    สาธารณะซึ่งเป็นองค์ประกอบสำาคัญประการหนึ่งของการจัดทำารายงาน
                    การวิเคราะห์ผลกระทบต่อร่างกฎหมายถูกกำาหนดให้เป็นขั้นตอนที่จำาเป็น

                    อย่างยิ่งในกระบวนการยกร่างกฎหมายของฝ่ายบริหาร (National Audit
                    Office, 2001: 15) เนื่องจากการปรึกษาหารือสาธารณะเป็นวิธีการที่เป็น

                    ระบบในการสอบถามข้อมูลจากประชาชนผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงหรือ
                    โดยอ้อมจากร่างกฎหมายที่กำาลังอยู่ระหว่างการยกร่าง การปรึกษาหารือ
                    กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตั้งแต่แรกเริ่มอย่างกว้างขวางได้รับการพิสูจน์แล้ว

                    ว่าสามารถนำาไปสู่ผลลัพธ์คือการมีกฎหมายที่ดีขึ้นได้ (National Audit
                    Office, 2001: 24)












         01-142 PublicConsult_ok.indd   83                                     22/6/2562 BE   17:26
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89