Page 139 - 21736_Fulltext
P. 139
บรรณานุกรม
ก) ภาษาไทย
(1) หนังสือ
คาเฮน, เอ. (2551). วิธีสร้างปาฏิหาริย์เมื่อสถานการณ์ถึงทางตัน. (พูนลาภ อุทัยเลิศอรุณ, ผู้แปล).
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วีเลิร์น.
โคทม อารียา. (2558). การปรองดองในสังคมประชาธิปไตยไทย. ใน ดุลอำนาจในการเมืองการ
ปกครองไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2533). ท้าทายทางเลือก: ความรุนแรงและการไม่ใช้ความรุนแรง.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โกมลคีมทอง.
ชลัท ประเทืองรัตนา. (2555). แนวทางในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติระหว่างสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกวิทยาเขตอุเทนถวาย. กรุงเทพมหานคร:
สถาบันพระปกเกล้า.
________. (2552). การจัดการความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์ภาคเหนือโดยระบบคนกลาง .
กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2553). ความรุนแรงซ่อน/หาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน.
ทรงภูมิ ประภานนท์. (2551). แบบจำลองข้ามทฤษฎีในการแก้ปัญหาทะเลาะวิวาทของนักเรียน
อาชีวศึกษาด้วยวิธีการตำรวจหลักยุติธรรมเชิงสมานฉันท์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี
บัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา, สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา.
บุญเลิศ ช่วยธานี. (2552). บทบาทของพระสงฆ์ในการจัดการความขัดแย้งทางการเมืองในท้องถิ่น :
ศึกษาเฉพาะกรณี พระครูวิบูลสิทธิธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองพยอม ตำบลชุมแสงสงคราม
อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. ใน สถาบันพระปกเกล้า, ความขัดแย้ง ความชอบธรรม
และการปฏิรูประบบรัฐ: การจัดสรรผลประโยชน์ที่เป็นธรรมในสังคมไทย การประชุม
วิชาการ KPI Congress ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า
มัวร์, เค. (2542). กระบวนการไกล่เกลี่ยโดยคนกลาง: ยุทธศาสตร์การนำไปใช้เพื่อแก้ปัญหาความ
ขัดแย้ง. (วันชัย วัฒนศัพท์, สุวิทย์ เลาหศิริวงศ์และวงศา คงดี, ผู้แปล). ขอนแก่น: สถาบัน
สันติศึกษา.