Page 23 - kpiebook62001
P. 23

ในการลดความเหลื่อมล้ าในประเทศทั้งสาม เพื่อให้เกิดข้อสังเกตที่มีประโยชน์ในการมาประยุกต์ใช้เป็นเป้าหมายการ

               พัฒนาระบบสวัสดิการของประเทศไทย (คณะวิจัยอาจเพิ่มหรือเปลี่ยนแปลงกรณีศึกษาได้ตามความเหมาะสมจาก
               ค าแนะน าของคณะกรรมการก ากับโครงการ)


                      ตารางที่ 1.2 ภาพรวมของลักษณะทางเศรษฐกิจในประเทศที่เป็นกรณีศึกษานโยบายสวัสดิการโดยรวม

                                                       United Kingdom                  Sweden

                        Population (2017), (Eurostat)  65.8 million          9.99 million


                        GDP per capita (2016)     42,943 US$                 49,084 US$

                        Political system          Parliamentarism            Parliamentarism





                        Welfare system            Liberal welfare            Universal



                        Eligibility               Low income, Strict         Universal, extended to all
                                                  entitlements               citizens

                        Top marginal tax rate     45%                        57%

                        (OECD, 2015)

                        Gini-coefficient          2004:    .35               2004:   .26
                                                  2016:    .35               2016:   .28




               1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ


                       (1) เพื่อให้ทราบถึงความเข้าใจที่มาและวัตถุประสงค์ของโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยศึกษาให้เห็นถึง
               แนวคิดและแรงจูงใจเบื้องหลังโครงการดังกล่าวโดยเฉพาะในกลุ่มของผู้ก าหนดนโยบาย

                       (2) เพื่อทบทวนข้อสังเกตต่าง ๆ ของโครงการที่ด้าเนินการผ่านมา โดยเฉพาะการศึกษาถึงปัญหาในการ

               ด าเนินการหลากหลายแง่มุม ความพึงพอใจของผู้ด าเนินนโยบายและผู้ได้รับผลกระทบ รวมทั้งความพยายามแก้ไขและ
               ปรับปรุงนโยบาย

                       (3) เพื่อจัดท้าข้อเสนอเชิงนโยบายพัฒนาปรับปรุงโครงการดังกล่าวให้สามารถแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้า

               ได้อย่างแท้จริง โดยมุ่งศึกษาประสบการณ์จากต่างประเทศในสองส่วน ส่วนแรกคือการศึกษาประสบการณ์จากประเทศ
               ก าลังพัฒนาที่น านโยบายสวัสดิการแบบเจาะจงที่คนจนมาใช้ เพื่อวิเคราะห์ถึงแนวทางที่ประเทศไทยจะใช้พัฒนา

               นโยบายในลักษณะเดียวกันให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นได้ ส่วนที่สองคือการศึกษาประเทศที่มีการผสมผสานนโยบาย



                                                               14
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28