Page 231 - kpiebook62016
P. 231
214
ตารางที่ 7.1 เปรียบเทียบจุดเปลี่ยนทางการเมือง ลักษณะเด่นของการเปลี่ยนผ่าน และการ
ออกแบบสถาบันการเมือง(ต่อ)
ประเทศ จุดเปลี่ยนทางการเมือง ลักษณะเด่นของการ การออกแบบสถาบันการเมือง
เปลี่ยนผ่าน
อินโดนีเซีย >> ความไม่พอใจต่อ >> จุดเริ่มต้นของการ >> ค.ศ. 2002 มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
รัฐบาลที่สั่งสมมานานของ พัฒนาสู่ประชาธิปไตย เปลี่ยนระบบเลือกตั้งประธานาธิบดีมาสู่
ชาวอินโดนีเซียได้ระเบิดขึ้น ของอินโดนีเซียเป็ น การเลือกตั้งโดยตรง ครั้งแรกใน ค.ศ.
เมื่อประธานาธิบดีซูฮาร์โต ตั ว อ ย่ า ง ข อ ง ก า ร 2004
ตัดสินใจสืบทอดอ านาจ จรรโลงประชาธิปไตย >>เปลี่ยนฝ่ายนิติบัญญัติจากระบบสภา
ท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจ โดยกลุ่มผู้น าพลเรือน เดียวที่มีการแต่งตั้งสมาชิก มาสู่ระบบ
เกิดเป็นการประท้วงขับไล่ ที่ได้รับแรงสนับสนุนจาก สภาคู่ที่ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร
และการจลาจลขนานใหญ่ บรรยากาศความตื่นตัว (People’s Representative Council –
ค.ศ. 1998 ประธานาธิบดี ทางประชาธิปไตยของ DPR) และสภาผู้แทนภูมิภาค (Regional
ซูฮาร์โต ประกาศลาออก สังคมและจากวิสัยทัศน์ Representative Council – DPD) ที่มา
และส่งมอบต าแหน่งให้รอง ของผู้น าทหารที่เห็นว่า จากการเลือกตั้งทั้งหมด
ประธานาธิบดี บี.เจ. ฮาบิบี กองทัพควรถอนตัวออก >> เปิดเสรีในการตั้งพรรคการเมืองด้วย
น าไปสู่การเลือกตั้ง และ จากการเมือง ที่น่าสนใจ การยกเลิกกฎหมายพรรคการเมืองเดิมที่
การปฎิรูปการเมืองอย่าง คือ อินโดนีเซียไม่ได้ยก ก าหนดให้มีพรรคการเมืองเพียง 3 พรรค
ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ แต่
ต่อเนื่อง >> เลือกตั้งแบบสัดส่วน โดยใช้ระบบ
แก้ไขรัฐธรรมนูญเดิม บัญชีรายชื่อแบบเปิด (Open list)
แบบค่อยไปค่อยไป >> เป้าหมายของการแก้ไขเพิ่มเติม
รัฐธรรมนูญ คือ เพิ่มความเข้มแข็งให้แก่
ฝ่ ายนิติบัญญัติ โดยเฉพาะสภา
ผู้แทนราษฎรและควบคุมอ านาจของฝ่าย
บริหารเพื่อป้องกันการผูกขาดอ านาจ