Page 232 - kpiebook62016
P. 232

215







                       ตารางที่ 7.1 เปรียบเทียบจุดเปลี่ยนทางการเมือง ลักษณะเด่นของการเปลี่ยนผ่าน และการ
                                  ออกแบบสถาบันการเมือง(ต่อ)


                       ประเทศ  จุดเปลี่ยนทางการเมือง   ลักษณะเด่นของการ         การออกแบบสถาบันการเมือง
                                                           เปลี่ยนผ่าน
                       ชิลี    >>  ผลการท าประชามติ >>  เกิดขึ้นจากการบรรลุ >> ใช้รูปแบบประธานาธิบดี และระบบสภา

                               เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม ค.ศ.  ข้อตกลงประนีประนอม  คู่ที่สองสภามีอ านาจเท่ากัน
                               1988 ผู้ใช้สิทธิลงคะแนน  และการรวมตัวเป็ น   >> เปลี่ยนจากระบบเลือกตั้งระบบสัดส่วน

                               ร้ อยละ 54.98 ไม่รับ  พันธมิตรทางการเมือง    (Proportional-Binomial  system) มาเป็น
                               ข้ อเสนอที่จะปกครอง   ระหว่างกลุ่มการเมืองต่าง  ระบบสัดส่วนที่ใช้สูตรในการจัดสรรที่นั่ง

                               ประเทศต่อของคณะทหาร   ขั้ว ได้แก่ กลุ่มอนุรักษ์นิยม   แบบด็องห์ (D’Hondt) เนื่องจากระบบเดิม
                               เพื่อลดทอนแรงกดดันจาก  คริสเตียนเดโมเครติก และ  เอื้อให้พรรคที่ได้คะแนนอันดับสอง มีที่นั่ง
                               สังคม รัฐบาลจึงจัดให้มี  กลุ่มพรรคสังคมนิยม และ  ใกล้เคียงกับพรรคอันดับหนึ่ง

                               การเลือกตั้งประธานาธิบดี   การประนี ประนอ ม  >> ก าหนดจ านวนและบังคับให้มีสาขา
                                                     ระหว่ างกลุ่ มผู้ น าพล
                               สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร   เรือน  และผู้น าทหาร   พรรคการเมือง อย่างเคร่งครัด

                               และสมาชิกวุฒิสภา ใน   ด้วยการยอมรับโครงสร้าง  >>   ออกกฎหมายการเลือกตั้งขั้นต้น
                               วันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ.                       (Primary election) บังคับใช้กับการเลือกตั้ง
                                                     การปกครองที่รัฐบาลทหาร
                               1989                                         ทุกระดับ ทั้งผู้ที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น
                                                     เป็นผู้วางไว้ ฝ่ายพลเรือน
                                                     พยายามอย่างค่อยเป็น    ประธานาธิบดี  สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
                                                     ค่อยไปในการเปลี่ยนแปลง  สมาชิกวุฒิสภา และนายกเทศมนตรี

                                                     โครงสร้างเพื่อลดบทบาท  >>  ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลการเลือกตั้ง และ
                                                     ของสถาบันที่มิได้ยึดโยง  องค์กรอิสระที่ท าหน้าที่ตรวจสอบฝ่ าย

                                                     กับประชาชน             บริหารและฝ่ ายนิติบัญญัติ มีที่มาจาก
                                                                            สถาบันการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งของ
                                                                            ประชาชน
   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237