Page 233 - kpiebook62016
P. 233

216







                       ตารางที่ 7.1 เปรียบเทียบจุดเปลี่ยนทางการเมือง ลักษณะเด่นของการเปลี่ยนผ่าน และการ
                                  ออกแบบสถาบันการเมือง(ต่อ)


                        ประเทศ       จุดเปลี่ยนทาง     ลักษณะเด่นของการ         การออกแบบสถาบันการเมือง
                                       การเมือง            เปลี่ยนผ่าน
                       อาร์เจนตินา  >> ความพ่ายแพ้ในหมู่ >>  เป็นการเปลี่ยน >> ใช้รูปแบบประธานาธิบดี และระบบสภาคู่

                                  เกาะฟอล์คแลนด์ต่อ  ผ่านไปสู่ประชาธิปไตย ที่ทั้งสองสภามีอ านาจเท่ากัน ประธานาธิบดี
                                  สหราชอาณาจักรและ    ที่ทหารไม่มีอ านาจ   ไม่มีสิทธิในการออกกฎหมายซึ่งทับซ้อนกับ

                                  ความล้มเหลวในการ    ต่อรอง  จากความกลัว  อ านาจของฝ่ายนิติบัญญัติ เว้นแต่ในกรณี
                                  แก้ปัญหาเศรษฐกิจ และ  ร ะ บ อ บ ท ห า ร ที่ ใ ช้  ฉุกเฉิน

                                  ก า ร ป ร า บ ป ร า ม  นโยบายประชานิยม    >> ให้ความส าคัญกับการตรวจสอบของสภา
                                  ประชาชน ท าให้กระแส  >>       การแก้ ไข  ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ ายบริหาร การ
                                  ต่อต้านรัฐบาลทหาร   รัฐธรรมนูญ ค.ศ.  1853   แต่งตั้งผู้พิพากษาศาลฎีกา การแต่งตั้งและ

                                  สูงขึ้น ส่งผลให้กลุ่ม  ฉบับแก้ไข ค.ศ. 1994   ปลดผู้แทนทางการทูต รวมถึงการเลื่อนยศให้
                                  การเมื องสามาร ถ    ก าหนดให้การยึดอ านาจ  นายทหารชั้นสูง และการประกาศพื้นที่

                                  เคลื่อนไหวได้โดยไม่ต้อง  การปกครองด้วยก าลัง   สงคราม ต้องผ่านความเห็นชอบจากวุฒิสภา
                                  ปร ะนี ปร ะน อม กับ  หรือไม่เป็นไปตามวิถี  ขณะที่การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินมิได้

                                  รั ฐบาลทหาร หลัง    ประชาธิปไตยถือเป็น   เป็นอ านาจของประธานาธิบดี หากแต่เป็น
                                  รั ฐ บ า ล ท ห า ร อ อ ก  โทษอาญา และค าสั่งใด  อ านาจของสภาคองเกรส
                                  กฎหมายนิรโทษกรรม    ที่ออกโดยผู้ที่ยึดอ านาจ  >> สภาผู้แทนราษฎรมีอ านาจในการเสนอให้

                                  ให้แก่ตนเอง จึงประกาศ  การปกครองด้ วยวิธี  ถอดถอน และวุฒิสภาใช้อ านาจถอดถอน
                                  ให้มีการเลือกตั้งทั่วไป  ดังกล่าวให้ถือว่าไม่มีผล  ประธานาธิ บดี รองประธานาธิ บดี

                                  ในวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ.   ผูกพันทางกฎหมาย   คณะรัฐมนตรี และผู้พิพากษาศาลฎีกาได้
                                                      พร้อมทั้งยังเป็นสิทธิของ
                                  1983                                     โดยใช้คะแนนเสียง 2 ใน 3 ของสมาชิกที่เข้า
                                                      พลเมืองในการต่อต้าน  ร่วมประชุม

                                                      การกระท าดังกล่าว    >>สภาคองเกรส ประกอบด้วย 2 สภา ได้แก่
                                                                           สภาผู้แทนราษฎร (House  of  Deputies)

                                                                           เลือกตั้งด้วยระบบบัญชีรายชื่อ และวุฒิสภา
                                                                           (Senate) จังหวัดละ 3  คน พรรคที่ได้คะแนน

                                                                           สูงสุดได้ 2 ที่นั่ง พรรคอันดับสองได้ 1 ที่นั่ง
   228   229   230   231   232   233   234   235   236   237   238