Page 237 - kpiebook62016
P. 237
220
ตารางที่ 7.1 เปรียบเทียบจุดเปลี่ยนทางการเมือง ลักษณะเด่นของการเปลี่ยนผ่าน และการ
ออกแบบสถาบันการเมือง(ต่อ)
ประเทศ จุดเปลี่ยนทางการเมือง ลักษณะเด่นของการ การออกแบบสถาบันการเมือง
เปลี่ยนผ่าน
โปแลนด์ >> ขบวนการเรียกร้อง >> ค.ศ. 1993 กลุ่มพรรค >>เ ป ลี่ ย น จ า ก ร ะ บ อ บ พ ร ร ค
เ อ ก ร า ช ภ า ย ใ ต้ ชื่ อ คอมมิวนิสต์สายปฏิรูปได้ คอมมิวนิสต์ มาเป็นระบบพรรค
Solidarity Trade Union เข้าร่วมเป็ นรัฐบาลผสม การเมืองหลายพรรค
มีสมาชิกกว่า 10 ล้านคน เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม >>ระบบกึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา
ในช่วงทศวรรษที่ 1980 สมานฉันท์ในการปฏิรูป (Semi-presidential system)
ประสานให้เกิดการเจรจา เศรษฐกิจและการเมืองให้ >> ระบบสภาคู่ (Bicameralism)
3 ฝ่ ายคือ ขบวนการ เป็นเสรีนิยมมากยิ่งขึ้น ประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร (สภา
Solidarity Trade Union >> รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1997 เซย์ม) มาจากการเลือกตั้งระบบ
ศาสนาจักร และพรรค เป็นรัฐธรรมนูญของโปแลนด์ สัดส่วน และวุฒิสภา มาจากระบบหนึ่ง
ค อ ม มิ ว นิ ส ต์ มี ก า ร ยุคปัจจุบันที่ปรับแก้ จาก เขตหลายคน (Plurality bloc vote) มี
เลือกตั้งเสรีครั้งแรกใน รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1952 ซึ่ง วาระ 4 ปี
เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1989 เป็นรัฐธรรมนูญเดิมสมัย >> ประธานาธิบดีถูกตรวจสอบโดย
พรรค Solidarity ชนะการ คอมมิวนิสต์ โดยไม่ร่างขึ้น รัฐสภาและศาล ตามกระบวนถอดถอน
เลือกตั้ง มีการเลือกตั้ง ใหม่ทันที แต่ใช้เวลาในการ (Impeachment)
สภาเซย์มใหม่ทั้งหมดใน ตกลง ประนีประนอม จน >>สภาเซย์มจะเสนอญัตติอภิปรายไม่
ค.ศ. 1991 พร้อมกับการ ได้รับความชอบธรรมจาก ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีได้ ต้องมี
ล่มสลายของสหภาพโซ การลงประชามติ ในวันที่ สมาชิกอย่างน้อย 46 รับรอง พร้อมกับ
เวียต 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1997 เสนอชื่อนายกรัฐมนตรี คนใหม่
และน ามาใช้จริงในวันที่ 17 (Constructive vote of no
ตุลาคม ค.ศ. 1997
confidence)
ที่มา: จัดท าโดยผู้เขียน