Page 81 - kpiebook62016
P. 81

64







                       แผนภาพที่ 3.2 ที่ตั้งประเทศอินโดนีเซีย





























                       ที่มา: Central  Intelligence  Agency,  Library  [online],  February  28,  2017,  Available  from
                       https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/graphics/maps/id-map.gif


                       การโอนคืนอ านาจให้ประชาชน


                              ปัจจัยส าคัญที่ท าให้รัฐบาลของประธานาธิบดีซูฮาร์โตสามารถอยู่ในต าแหน่งได้อย่างยาวนาน
                       เป็นเพราะความสามารถของรัฐบาลในการควบคุมสมัชชาที่ปรึกษาประชาชนอันเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ

                       เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งอินโดนีเซียก าหนดให้การเลือกประธานาธิบดีเป็นอ านาจของสมัชชาที่ปรึกษา

                       ประชาชน ทั้งนี้ รัฐบาลควบคุมสมัชชาที่ปรึกษาประชาชนผ่าน 2 กลไก ได้แก่ อ านาจในการแต่งตั้ง

                       สมาชิกสมัชชาที่ปรึกษาประชาชน ซึ่งมีสมาชิกทั้งสิ้น 1,000 คน โดยที่ 500 คน มาจากการแต่งตั้งของ

                       รัฐบาลในฐานะผู้แทนของกลุ่มต่างๆ รวมถึงภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ ส่วนสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งเป็น
                       สภาย่อยของสมัชชาที่ปรึกษาประชาชนจะมีสมาชิกจ านวน 500 คน ในจ านวนนี้ ถูกจัดสรรให้แก่

                                                                                                           184
                       กองทัพจ านวน 100 คน เพื่อให้ด ารงต าแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยไม่ต้องผ่านการเลือกตั้ง
                       และอีก 400 คนให้มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ในการเลือกตั้ง รัฐบาลครองอ านาจผ่านพรรค

                       การเมือง ภายใต้ชื่อพรรค Golkar (Party  of  Functional  Groups – Golkar) นอกจากนี้ รัฐบาลยัง

                       สามารถใช้อ านาจกีดกันพรรคการเมืองคู่แข่ง และผู้วิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลผ่านคณะกรรมการการ

                       184  Harold Crouch, Political Reform in Indonesia after Soeharto, op. cit., p. 44.
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86