Page 84 - kpiebook62016
P. 84

67







                       ตารางที่ 3.4 จ านวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรของพรรคการเมืองอินโดนีเซีย ค.ศ. 1999(ต่อ)

                              พรรค             จ านวนที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎร

                        PNI-M                                               1
                        IPKI                                                1
                        PKU                                                 1

                               รวม                         462

                       ที่มา:  Aris  Anata,  Evi  Nurvidya  Arifin,  and  Leo  Suryadinata,  Emerging  Democracy  in

                       Indonesia (Singapore: Institute of Southeast Asian Studies, 2005), p. 14.


                              การปฏิรูปในสมัยประธานาธิบดีฮาบิบีส่งผลให้การเมืองของอินโดนีเซียเปิดกว้างมากขึ้น

                       อนุญาตให้จัดตั้งพรรคการเมือง และลดจ านวนสมาชิกสมัชชาที่ปรึกษาประชาชนที่มาจากการแต่งตั้งลง

                       อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้งประธานาธิบดีก็ยังคงท าโดยอ้อมผ่านการลงคะแนนในสมัชชาที่ปรึกษา

                       ประชาชน โดยในการลงคะแนนเลือกตั้งประธานาธิบดีเมื่อเดือนตุลาคม ค.ศ. 1999 พรรคที่ถูกคาดหวัง
                       ว่าจะเป็นแกนน าในการจัดตั้งรัฐบาลคือพรรค Indonesian Democratic Party of Struggle (PDI-P)

                       ซึ่งมีนางเมกาวาตี ซูการ์โนบุตรี (Megawati  Sukarnoputri) บุตรสาวของอดีตประธานาธิบดีซูการ์โน

                       เป็นหัวหน้าพรรค และเป็นพรรคที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดถึง 153 คน แต่ความล้มเหลว

                       ของพรรคในการเจรจาเพื่อร่วมเป็นพันธมิตรกับพรรคการเมืองอื่นๆ ส่งผลให้สมัชชาที่ปรึกษาประชาชน
                       ลงคะแนนเสียงเลือกให้นายอับเดอร์ราห์มาน วาหิต (Abdurrahman  Wahid) จากพรรค  National

                       Awakening  (PKB)  ซึ่งเป็นพรรคที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นอันดับ 3 ด ารงต าแหน่ง

                       ประธานาธิบดีด้วยคะแนนเสียง 373 เสียง โดยมี 313 เสียงลงคะแนนให้นางเมกาวาตี ทั้งนี้

                       ประธานาธิบดีวาหิตได้พยายามเสริมสร้างเสถียรภาพของรัฐบาลด้วยการเชิญพรรคการเมืองต่าง ๆ
                       รวมถึงผู้แทนจากกองทัพเข้าร่วมรัฐบาลและมีการจัดสรรต าแหน่งรัฐมนตรี ถึง 6 ต าแหน่งให้แก่กองทัพ

                       รวมถึงพลเอกวิรันโต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีผู้ประสานงานด้านการเมืองและความมั่นคง และ

                       พรรคของนางเมกาวาตีที่ได้รับจัดสรรต าแหน่งรัฐมนตรี 4 ต าแหน่ง ขณะที่นางเมกาวาตีได้ด ารง

                                                  190
                       ต าแหน่งเป็นรองประธานาธิบดี  แต่การที่ประธานาธิบดีวาหิตได้แต่งตั้งบุคคลที่มีความใกล้ชิดกับ
                       ตนเองด ารงต าแหน่งรัฐมนตรี กอปรกับปัญหาอื้อฉาวที่บุคคลใกล้ชิดและเครือญาติใช้สายสัมพันธ์



                       190  Harold Crouch, Political Reform in Indonesia after Soeharto, op. cit., pp. 28-29.
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89