Page 268 - kpiebook65020
P. 268
226
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
ภาคผนวก ค
คู่มือการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย
*
ร่างพระราชบัญญัติ o เพื่อให้ทราบว่าร่างกฎหมายฉบับนี้เป็นกฎหมายประเภทใด
กฎหมายใหม่
แก้ไข/ปรับปรุง
ยกเลิก
หน่วยงานของรัฐผู้เสนอร่างกฎหมาย o ระบุชื่อหน่วยงานของรัฐ (ระดับกรมหรือเทียบเท่า) ที่เป็นผู้เสนอร่าง
กฎหมาย
ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้หน่วยงานของรัฐตรวจสอบความสอดคล้องกับ
และแผนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ และเพื่อให้ทราบว่าร่าง
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติใน กฎหมายที่เสนอนั้นเป็นกฎหมายที่จะตราขึ้นเพื่อการปฏิรูปประเทศ
เรื่องใด หรือไม่ และเป็นการดาเนินการตามที่มาตรา 21 (2) กาหนดไว้ด้วย
สอดคล้องกับแผนการปฏิรูป
ประเทศในเรื่องใด วิธีการตอบ
o ให้ระบุว่าการด าเนินการในเรื่องนี้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติหรือ
แผนการปฏิรูปประเทศในประเด็นหรือหัวข้อใด หรือไม่ อย่างไร
o หากการด าเนินการในเรื่องนี้มิได้กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติหรือ
แผนการปฏิรูปประเทศ ให้ระบุแต่เพียงว่า “ไม่มีการกาหนดเรื่องนี้ไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติหรือแผนการปฏิรูปประเทศ”
ส่วนที่ 1 : เหตุผลความจาเป็นที่ต้องตรากฎหมายและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย
ประเด็น ค าอธิบาย/วัตุประสงค์
1. สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบของปัญหา
1.1 ปัญหาคืออะไร สาเหตุ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ทราบถึงปัญหาที่มีอยู่จริงและความจาเป็นที่ต้องตรา
ของปัญหาคืออะไร และ กฎหมาย ซึ่งมาตรา 17 (1) กาหนดให้หน่วยงานของรัฐต้องวิเคราะห์เหตุผล
ผลกระทบของปัญหาคือ ความจ าเป็นที่ต้องตรากฎหมาย ทั้งนี้ การวิเคราะห์ปัญหาถือเป็นขั้นตอนส าคัญ
อะไร ที่สุดขั้นตอนหนึ่งของการพิจารณาความจ าเป็นและการวิเคราะห์ผลกระทบที่
อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย เนื่องจาก การก าหนดปัญหาและสาเหตุของปัญหาที่
*
คู่มือการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย (ฉบับปรับปรุงเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563) ,
จัดท าโดยกองพัฒนากฎหมาย ส านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เผยแพร่ในเว็บไซต์ www.lawreform.go.th และ
www.krisdika.go.th