Page 270 - kpiebook65020
P. 270
228
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
โครงการวิจัยเรื่อง “องค์ความรู้และเครื่องมือส าหรับการตรวจสอบความจ าเป็นในการตรากฎหมาย”
2.วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการแทรกแซง
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการแก้ปัญหา ซึ่ง
การแทรกแซง คืออะไร ค าตอบในข้อนี้จะนาไปใช้ในการวิเคราะห์ มาตรการที่จะกาหนดไว้ในกฎหมาย
และภายหลังกฎหมายมีผลใช้บังคับ จะน าไปใช้เป็นตัวชี้วัดหรือเป็นข้อมูล
ประกอบการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายต่อไป
วิธีการตอบ
o ให้ระบุเฉพาะวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่หน่วยงานของรัฐจะด าเนินการเพื่อ
แก้ปัญหาที่ระบุตาม 1.
o พึงระวังว่า การออกกฎหมายเป็นวิธีการหนึ่งในการแก้ไขปัญหาเท่านั้น เพราะ
อาจมีวิธีการอื่นในการแก้ปัญหาได้ด้วย ดังนั้น การออกกฎหมายจึงมิใช่
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการแทรกแซงที่จะเป็นค าตอบในข้อนี้
ตัวอย่างเช่น รัฐต้องการออกกฎหมายเพื่อกาหนดให้ผู้ขับขี่รถยนต์คาดเข็มขัด
นิรภัย เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับจ านวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
วัตถุประสงค์ของการดาเนินการในเรื่องนี้ คือ “การลดจ านวนผู้เสียชีวิตจาก
อุบัติเหตุทางถนน”
ส่วน “การมีกฎหมายที่ก าหนดให้ผู้ขับขี่รถยนต์คาดเข็มขัดนิรภัย” เป็นเพียงวิธีการ
หนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาในเรื่องนี้
o ข้อแนะนา ในการระบุวัตถุประสงค์และเป้าหมายอาจพิจารณาจากหลักการที่
เรียกว่า “S.M.A.R.T.” ได้แก่
(1) มีความเฉพาะเจาะจง (Specific)
(2) สามารถวัดผลได้ (Measurable)
(3) สามารถเป็นไปได้ (Achievable)
(4) มีความสอดคล้องกับปัญหาและสาเหตุของปัญหาที่ต้องได้รับการแก้ไข
(Relevant)
(5) มีก าหนดเวลาที่ชัดเจน (Time-related)
3. การแก้ปัญหาในปัจจุบัน
3.1 วิธีการแก้ปัญหาที่ วัตถุประสงค์ : เพื่อตรวจสอบว่าในปัจจุบันมีวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้มาตรการทาง
ด าเนินการอยู่ในปัจจุบันคือ กฎหมายหรือวิธีการอื่นที่ไม่ใช่กฎหมายหรือไม่ และตรวจสอบด้วยว่าวิธีการ
อะไร ดังกล่าวมีประสิทธิภาพหรือไม่ อย่างไร ทั้งนี้ เพื่อประกอบการพิจารณาการ
ตรวจสอบความจ าเป็นของกฎหมายตามมาตรา 12
วิธีการตอบ
o ให้ระบุว่า ในปัจจุบันทั้งภาครัฐและเอกชนแก้ปัญหาด้วยวิธีใดบ้าง (วิธีที่เป็น