Page 446 - kpiebook65064
P. 446
396 โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
- นำบัญชีรายการนี้มาพิจารณาเลือกรายการที่เหมาะสมและจำเป็นต่อ รพช. และ สอ.
ตามลำดับ
- กรอบรายการ 3 ระดับนี้ รพศ./รพท. รพช. และสอ.แต่ละแห่งจะนำมาพิจารณาเลือก
รายการยาที่เหมาะสมกับตนเองอีกครั้งหนึ่ง 1
โปรดพิจารณากระบวนการคัดเลือกยาของสถานพยาบาลในจังหวัดที่สังกัดกระทรวง
สาธารณสุขตามแผนภาพภาคผนวก ง-1
การจัดระบบยาของจังหวัดในลักษณะนี้มุ่งรองรับระบบจัดซื้อยาร่วมกันของสถานพยาบาล
ภาครัฐทุกแห่งในจังหวัดระหว่าง พ.ศ. 2530 – 2535 จังหวัดต่างๆ ได้ศึกษาระบบนี้และนำไป
ปฏิบัติในจังหวัดของตนเพิ่มมากขึ้น จนกระทั่ง พ.ศ. 2537 กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบาย
ส่งเสริมรูปแบบการรวมศูนย์จัดซื้อยาในระดับจังหวัดทั่วประเทศ ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของ
รูปแบบนี้ คือ
1) มีกรอบรายการยาในแต่ละระดับของสถานพยาบาล
2) มีการร่วมกันจัดซื้อยา
3) มีการประกันคุณภาพยาที่ร่วมกันจัดซื้อ และ
4) มีการบริหารระบบยาในระดับอำเภอโดย รพช.
แผนภาพภาคผนวก ง– 1 กระบวนการคัดเลือกยาของสถานพยาบาล
แผนภาพภาคผนวก ง– 1 กระบวนการคัดเลือกยาของสถานพยาบาล
ในจังหวัดที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
ในจังหวัดที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
บัญชียารพศ./รพท.
สต. รพศ./รพท.รพช. และสอ. แต่ละแห่งจะน ามาเลือก
บัญชียารพช. บัญชียาสอ. พิจารณายา
มุ่งรองรับระบบจัดซื้อยาร่วมกันของ
กรอบบัญชียาสูงสุดของจังหวัด สถานพยาบาลภาครัฐทุกแห่งในจังหวัด
พิจารณา/ตัดรายการที่ซ้ าซ้อน 1. ได้รายการยาที่จ าเป็นส าหรับ รพศ./รพท.
2. ได้ยาบางรายการที่ไม่มีความจ าเป็นใน รพศ./
รพท.แต่มีความจ าเป็นใน รพช.
บัญชียารพศ. บัญชียารพท.
1 ต่อมาในพ.ศ.2541 กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายปฏิรูประบบริหารเวชภัณฑ์ตามแผนแม่บทการ
สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ, วิชัย โชควิวัฒน, ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (บรรณาธิการ). (2542). ระบบยาของประเทศไทย.
นนทบุรี: สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, น. 66. Low Cost) โดยมีนโยบายให้แต่ละจังหวัดด าเนินการ
พัฒนาสุขภาพที่ดีด้วยต้นทุนต่ า (Good Health at
จัดซื้อร่วมกันในจังหวัด การด าเนินการดังกล่าวสามารถประหยัดงบประมาณด้านยาอย่างต่อเนื่องตั้งแค่พ.ศ.
2541 จนถึงปัจจุบัน โดยสามารถประหยัดงบประมาณการจัดซื้อยาได้ 171.47 ล้านบาทในพ.ศ.2541 และเพิ่ม
ภาคผนวก
2
เป็น 507.28 ล้านบาทในพ.ศ.2544
สถาบันพระปกเกล้า
ปัจจุบันการคัดเลือกยาและจัดซื้อยาในระดับจังหวัดของกระทรวงสาธารณสุขอาศัยแนวทางการจัดหา
เวชภัณฑ์ร่วมกันที่เป็นไปตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาพ.ศ.
2543ข้อ 10 ที่ก าหนดให้หน่วยราชการหรือส่วนราชการใดที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน มีการซื้อยาหรือเวชภัณฑ์ที่
มิใช่ยา ที่มีมูลค่าสูงให้ด าเนินการจัดซื้อยาหรือเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา และการจัดซื้อต้องท าในรูปของคณะกรรมการ
ซึ่งตามข้อ 5 (ข) ของระเบียบระบุให้มีคณะกรรมการตามที่นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดหรือหัวหน้าหน่วย
ราชการตั้งแต่ระดับกองหรือเทียบเท่าขึ้นไปแต่งตั้งท าหน้าที่ดังกล่าว ส่วนวิธีจัดซื้อให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่
กระทรวงสาธารณสุขก าหนดในระเบียบกระทรวงสาธารณสุขฯ พ.ศ. 2543และระเบียบส านักนายกรัฐมนตรีว่า
ด้วยการพัสดุฯ พ.ศ. 2535 โดยการจัดซื้อยาภายในจังหวัดจะแบ่งตามพื้นที่ดูแลของส านักงานสาธารณสุข
จังหวัด (สสจ.) โดยปัจจุบันมีสสจ. ทั้งสิ้น 76 แห่ง
นอกจากนี้ต้องปฏิบัติตามแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ กระทรวง
สาธารณสุขและนโยบายการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ ตามแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพ
2
กรมสนับสนุนบริการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2548). หลักเกณฑ์การจัดซื้อยาของกระทรวงสาธารณสุขตามมติ
คณะรัฐมนตรี วันที่ 9 กันยายน 2546 (การจัดซื้อและประกันคุณภาพยาร่วมกันในระดับเขต). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
นิวธรรมดาการพิมพ์, น. 2.
ภาคผนวก ง. - 2