Page 254 - kpi18886
P. 254
246
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2554). ประชาสังคม ความรุนแรง และการล่มสลายของ
ประชาธิปไตย: ความสำคัญของแนวคิดเรื่องความมีอารยะและการเมือง
แบบอารยะของเอ็ดเวิร์ด ชิลส์. ใน เมืองไทยสองเสี่ยง? : สภาพปัญหา
แนวโน้ม และทางออกวิกฤติการเมืองไทย. (น. 57-95). กรุงเทพฯ:
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2542). ทฤษฎีขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมใช้กับสังคม
ไทยได้หรือไม่?. การประชุมนักวิจัยโครงการพลวัตเศรษฐกิจการเมือง
ไทย พ.ศ. 2543: ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม โดยการสนับสนุนของ
สกว. ภายใต้โครงการเมธีวิจัยอาวุโส เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542
พิศาล มุกดารัศมี. (2554). แนวคิดและวิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองไทย:
ประชาธิปไตย. ใน ประมวลสาระชุดวิชาการเมืองการปกครองไทย.
ปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เพลินตา ตันรังสรรค์. (2558). สรุปการสัมมนาทางวิชาการ ปาฐกถา เรื่อง
8 ทศวรรษ ประชาธิปไตยไทย : พลวัตแห่งดุลอำนาจ. วารสารจุลนิติ,
12(1), 98-100.
สถาบันพระปกเกล้า. (2555). รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ
เสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความ
ปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สุรพล นิติไกรพจน์. (2551). ระบบควบคุมตรวจสอบรัฐบาลทางการเมืองที่เหมาะสม.
สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2560. จาก http://www.openbase.in.th/
เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2552). การเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตย.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา.
อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (ม.ป.ป.). การปฏิรูปการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยใน
สังคมไทย. ม.ป.ท.
อมรา พงศาพิชญ์ และ ปรีชา คุวินทร์พันธุ์. (บรรณาธิการ). (2543). ระบบ
อุปถัมภ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัสมา หวังกุหลำ. (2553). บทบาททางการเมืองของชนชั้นกลางไทยในขบวนการ
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยภายใต้ระบอบทักษิณ.
(วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตร-มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย).
การประชุมกลุมยอยที่ 2