Page 532 - kpi18886
P. 532

524




               แบบประเมินกรอบหลักสูตรการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา

               สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์สถิติเชิง
               บรรยาย ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวข้องกับ
               การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง ได้แก่ สุจริต 3 สิกขา 3 อธิปไตย 3 พรหมวิหาร 4

               สังคหวัตถุ 4 พละ 4 อธิษฐานธรรม 4 อริยสัจ 4 อิทธิบาท 4
               เวสารัชชกรณธรรม 5 เบญจศีล เบญจธรรม สารณียธรรม 6 สัปปุริสธรรม 7
               อปริหาณิยธรรม 7 มรรคมีองค์ 8 กุศลกรรมบถ 10 และ นาถกรณธรรม 10

               2) กรอบหลักสูตรการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา โดย
               แบ่งเป็น 5 องค์ประกอบ ได้แก่ แนวคิดพื้นฐาน จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ
               การจัดการเรียนรู้ และการวัดและการประเมินผล และ 3) กรอบหลักสูตร

               การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองตามแนวพระพุทธศาสนามีความสอดคล้องกับบริบท
               ของสังคมไทย เพราะยึดโยงองค์ประกอบสำคัญ 2 ประการ ได้แก่ การเป็นคนดี
               บนฐานของหลักการทางศาสนาและการเป็นพลเมืองที่ดีตามระบอบประชาธิปไตย

               เข้าด้วยกันอย่างสมดุล

               คำสำคัญ: การพัฒนาหลักสูตร,  การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง,  พระพุทธศาสนา


               Abstract

                     The purposes of this research were 1) to analyze the dharmic
               principle that related to the civic education, 2) to develop the civic
               education curriculum framework based on the Buddhism, and 3) to
               evaluate the civic education curriculum framework based on the
               Buddhism. The research methodology was Mixed methods research and
               consisted of 3 steps: 1) the documentary study: the research samples
               were Tripitaka, textbooks, books, articles, and researches about the
               dharmic principle that related to the civic education and, 2) the Delphi
               technique research: the research samples were 17 experts about the
               civic education and the Buddhism that were selected by purposive
               sampling, and 3) the curriculum framework evaluation: the research
               samples were 30 elementary and secondary teachers that would like to
               implement this curriculum framework for instruction. The research
               instruments were the content analysis form, the Delphi questionnaire,





                    บทความที่ผานการพิจารณา
   527   528   529   530   531   532   533   534   535   536   537