Page 533 - kpi18886
P. 533
525
and the evaluation form. The data were analyzed by content analysis
and descriptive statistics. The results were: 1) the dharmic principle that
related to the civic education were Sucarita 3, Sikkha 3, Adhipateyya 3,
Brahmavihara 4, Sangahavatthu 4, Bala 4, Adhitthana-dhamma 4,
Ariyasacca 4, Iddhipada 4, Vesarajjakarana-dhamma 5, Panca-sila 5,
Panca-dhamma 5, Saraniyadhamma 6, Sappurisa-dhamma 7,
Aparihaniyadhamma 7, Magga 8, Kusala-kammapatha 10, and
Nathakarana-dhamma 10, 2) the civic education curriculum framework
based on the Buddhism comprised of 5 aspects: basic concept,
objective, content, learning management, and measurement and
evaluation, and 3) the civic education curriculum framework based on
the Buddhism related to the context of Thai society because it balanced
two main components between to be good citizen based on the
dharmic principle and the democracy.
Key words : Curriculum Development, Civic Education, Buddhism
บทนำ
สังคมโลกและสังคมไทยมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและ
กว้างขวางทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง กระแสโลกาภิวัตน์ได้กระตุ้น
ให้สมาชิกของประเทศต่างๆ ตื่นตัวต่อการรับรู้ข้อมูลสารสนเทศและเรียนรู้จาก
สังคมภายนอก เพื่อปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมให้ได้และสามารถ
เป็นพลเมืองที่ดีของสังคม ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลกได้ด้วย
การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง เป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนา
สมาชิกของสังคม ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสำนึกของความเป็นพลเมือง
มีเจตคติที่ถูกต้องสอดคล้องกับแนวทางประชาธิปไตย มีความคิดอย่างมี
วิจารณญาณโดยปราศจากอคติและการครอบงำ มีคุณลักษณะและปฏิบัติตน
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เห็นคุณค่าในความเป็นมนุษย์อย่างมีศักดิ์ศรี มีความ
เสมอภาคกันและรักในความยุติธรรม ทำให้สังคมเกิดการพัฒนาอย่างสมดุลและ
ยั่งยืนด้วย (Robinson, 2015, pp. 36-43)
บทความที่ผานการพิจารณา