Page 214 - 22373_Fulltext
P. 214
1.1) ส่วนที่ 1 สถานะเด็กและเยาวชนแต่ละกลุ่มในพื้นที่ ได้แก่
เด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปี ได้แก่ จ านวนเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปีทั้งหมด จ านวนเด็กปฐมวัย
อายุ 2-5 ปี ที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษา (สาเหตุที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษา ปัญหาส าคัญอื่น ๆ ของเด็กกลุ่มนี้ สาเหตุ
ของปัญหา) เด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปีที่เข้ารับการศึกษาในระดับเตรียมอนุบาลและอนุบาลศึกษา แต่ขาดแคลน
ทุนทรัพย์ หรือครอบครัวมีรายได้น้อย (จ านวนทั้งหมด สาเหตุที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือครอบครัวมีรายได้
น้อย ปัญหาส าคัญอื่น ๆ ของเด็กกลุ่มนี้ สาเหตุของปัญหา)
เด็ก อายุ 6-15 ปี ได้แก่ เด็ก อายุ 6-15 ปี จ านวนทั้งหมด เด็ก อายุ 6-15 ปี
นอกระบบการศึกษา (จ านวนทั้งหมด สาเหตุที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษา ปัญหาส าคัญอื่น ๆ ของเด็กกลุ่มนี้ สาเหตุ
ของปัญหา) เด็ก อายุ 6-15 ปีในระบบการศึกษาที่เข้ารับการศึกษาภาคบังคับในระดับประถมศึกษาตอนต้น
ประถมศึกษาตอนปลาย หรือมัธยมศึกษาตอนต้น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์หรือครอบครัวมีรายได้น้อย (จ านวน
ทั้งหมด สาเหตุที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือครอบครัวมีรายได้น้อย ปัญหาส าคัญอื่น ๆ ของเด็กกลุ่มนี้ สาเหตุ
ของปัญหา)
เยาวชน อายุ 16-18 ปี ได้แก่ จ านวนทั้งหมด เยาวชน อายุ 16-18 ปีนอกระบบ
การศึกษา (จ านวนทั้งหมด สาเหตุที่ไม่ได้เข้ารับการศึกษา ปัญหาส าคัญอื่น ๆ ของเด็กกลุ่มนี้ สาเหตุของปัญหา)
เยาวชน อายุ 16-18 ปีในระบบการศึกษาที่เข้ารับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตร
การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
วิชาชีพ (ปวช.) (จ านวนทั้งหมด สาเหตุที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ หรือครอบครัวมีรายได้น้อย ปัญหาส าคัญอื่น ๆ
ของเด็กกลุ่มนี้ สาเหตุของปัญหา)
เด็กพิเศษ จ านวนเด็กพิเศษในแต่ละกลุ่ม ปัญหาส าคัญของเด็กพิเศษแต่ละกลุ่ม 1) เด็ก
ที่บกพร่องทางการมองเห็น 2) เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน 3) เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา 4) เด็กที่
บกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ 5) เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้ เด็กที่บกพร่องทางการ
พูด และภาษา 6) เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม หรืออารมณ์เด็กออทิสติกหรือเด็กพิการซ้อน 7) เด็กที่มีระดับ
สติปัญญาสูง เด็กที่มีความสามารถพิเศษเฉพาะด้านโดดเด่น และเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
1.2) ส่วนที่ 2 สถานะบุคลากรทางการศึกษา 1) จ านวนข้าราชการครูในแต่ละโรงเรียน
2) จ านวนข้าราชการครูจ าแนกตามต าแหน่ง 3) จ านวนครูจ าแนกตามระดับการศึกษา
1.3) ส่วนที่ 3 บริบทด้านคุณภาพทางการศึกษา 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
ขั้นพื้นฐานรายโรงเรียน (O-NET) วิชาคณิตศาสตร์ วิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาวิทยาศาสตร์ และ
2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบรายโรงเรียน (N-NET) สาระประถมศึกษา
สาระมัธยมศึกษาตอนต้น สาระมัธยมศึกษาตอนปลาย
2) ผู้วิจัยจัดสัมมนาครั้งที่ 1 กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่ง โดยได้ทบทวนที่มา
วัตถุประสงค์และกระบวนการด าเนินงานของโครงการฯ ให้ความรู้เกี่ยวกับความเหลื่อมล้ าทางการศึกษา
พร้อมทั้งอธิบายขั้นตอนของการเสาะหาข้อเท็จจริง รวมถึงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นน าเสนอผลการส ารวจ
190 วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า