Page 25 - 22373_Fulltext
P. 25

บทที่ 1


                                                           บทน้า



                1.1 ที่มาและความส้าคัญ

                        ประเทศไทยได้เผชิญกับความเหลื่อมล ้าในหลายมิติทางด้านการศึกษา “ในปีการศึกษา 2559 ที่ผ่านมา

                มีเด็กและเยาวชนวัยเรียน (อายุระหว่าง 3-17 ปี) ที่อยู่ในระบบการศึกษา แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และโอกาส
                จ านวนมากกว่า 3 ล้านคนทั่วประเทศ ซึ่งเด็กนักเรียนกลุ่มนี้ มีความเสี่ยงสูงที่จะหลุดออกจากระบบการศึกษา
                ก่อนส าเร็จการศึกษาภาคบังคับ และการศึกษาขั้นพื้นฐานอันเนื่องมาจากปัญหาความยากจน ความด้อยโอกาส

                ทางสังคม ความพิการ และปัญหาครอบครัว” (สถาบันพระปกเกล้า, 2562)  นอกจากความเหลื่อมล ้าในการ

                เข้าถึงการศึกษาแล้ว เด็กและเยาวชนในพื นที่ห่างไกลหรือพื นที่ชนบท ยังได้รับการศึกษาที่ไม่มีคุณภาพเทียบเท่า
                กับเด็กและเยาวชนในพื นที่เมืองหรือพื นที่ศูนย์กลางความเจริญ จึงกล่าวได้ว่าเด็กและเยาวชนของไทย ก้าลัง
                ประสบกับความเหลื่อมล ้าทางการศึกษา ทั งในเรื่องของโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาและคุณภาพของการศึกษา


                        การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมจึงกลายมาเป็นหนึ่งในนโยบายส้าคัญในการพัฒนา
                ประเทศในช่วงระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค

                ทางสังคม (ราชกิจจานุเบกษา, 2561)  โดยรัฐบาลมุ่งเน้นการสร้างความชอบธรรมและลดความเหลื่อมล ้าในทุก
                มิติ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี และที่ส้าคัญคือการเพิ่มขีดความ

                สามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา การพึ่งตนเอง และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
                โดยสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิด ร่วมท้าเพื่อส่วนรวม การกระจายอ้านาจ และความ

                รับผิดชอบไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการ
                ตนเอง ดังนั นชุมชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐที่ตั งอยู่ในพื นที่ และ

                มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด จึงกลายเป็นหุ้นส่วนส้าคัญของรัฐบาลในการสร้างความเสมอภาคทางสังคม
                และลดความเหลื่อมล ้าที่เกิดขึ นในระดับพื นที่ (สถาบันพระปกเกล้า, 2562)

                       ทั งนี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเหมาะสมและเป็นกลไกส้าคัญในการสร้างความเสมอภาคทาง

                การศึกษา จากเหตุผลสี่ประการคือ ประการที่ 1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีต้นทุนทางสังคมที่ดีในการจัด            การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
                การศึกษา เพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรทางการเมืองที่ประชาชนเป็นเจ้าของ มีความรับผิดชอบ

                ต่อประชาชนในท้องถิ่น (Social Accountability) เนื่องด้วยผู้บริหารท้องถิ่นมาจากคนในชุมชนท้องถิ่น และ
                ท้าหน้าที่ดูแลรับผิดชอบต่อประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ประการที่ 2 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีอ้านาจ

                และความรับผิดชอบตามกรอบกฎหมาย (Legal Accountability) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง อ้านาจและหน้าที่ในการ
                จัดบริการสาธารณะ ซึ่งการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนในท้องถิ่นถือเป็นการจัดบริการสาธารณะรูปแบบหนึ่ง

                ฉะนั นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจึงสามารถที่จะใช้ระบบงบประมาณ บุคลากร และการด้าเนินงานเพื่อการจัด
                การศึกษาได้อย่างมีเอกภาพ มีความยืดหยุ่น มีอิสระ อันท้าให้เกิดคุณภาพของการศึกษา ประการที่ 3 องค์กร

                ปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นองค์กรทางการเมืองที่อยู่ใกล้ชิดกับปัญหาและความต้องการ ดังนั นองค์กรปกครองส่วน





                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   1
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30