Page 28 - 22373_Fulltext
P. 28

นอกจากนี  ในการประชุมระดับโลกว่าด้วยการศึกษา ณ เมืองอินชอน ประเทศเกาหลีใต้ ที่ถูกจัด
              ขึ นปี 2558 ในการประชุมครั งนี ได้มีข้อเสนอแนะใน 5 ประเด็นส้าคัญ ดังนี

                           1) ให้ประเทศต่าง ๆ จัดการศึกษาเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัยก่อนเข้าสู่ชั นประถมศึกษา
              ด้วยการก้าหนดให้การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาภาคบังคับ

                           2) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะต้องสอดคล้องกับชุมชนของผู้เรียน มีรูปแบบที่หลากหลาย

              เพื่อให้เกิดทางเลือกแก่ผู้เรียน ซึ่งจะต้องค้านึงถึงวิธีการจัดการเรียนการสอน หลักสูตร สื่อและต้ารา การใช้
              เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการสอน ตลอดจนการให้การศึกษากับครอบครัวและพ่อแม่ผู้ปกครอง

                           3) การพัฒนาการศึกษาเพื่อให้ผู้คนมีความเป็นพลเมืองโลก ซึ่งจะน้ามาซึ่งสังคมที่น่าอยู่มาก

              ยิ่งขึ น โดยค้านึงถึงการสร้างความสมดุลระหว่างการแข่งขัน และการสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียว
                           4) การเพิ่มงบประมาณลงทุนด้านการศึกษา โดยมีข้อเสนอแนะให้จัดตั งกองทุนโลกว่าด้วย

              การศึกษาเพื่อสนับสนุนให้ประเทศที่ไม่สามารถจัดสรรงบประมาณด้านการศึกษาเพิ่มเติมได้

                           5) การประเมินติดตามผลเป็นระยะเพื่อติดตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
              Development Goals: SDGs) โดยในระดับโลกให้ปรับเป็น Global Education Monitoring Report โดยให้

              ประเทศต่าง ๆ ได้ก้าหนดแนวทางการติดตามของตนเองได้ตามเหมาะสม

                        ในปี 2533 ประเทศต่าง ๆ รวมถึงประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองปฏิญญาจอมเทียนว่าด้วย
              การศึกษาเพื่อปวงชน (World Declaration on Education for All and Framework for Action to Meet
                  การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
              Basic Learning Needs) ซึ่งเป็นปฏิญญาสากลฉบับแรกที่ประกาศถึงความต้องการให้เด็กและเยาวชนทุกคน

              สามารถเข้าถึงและส้าเร็จการศึกษาในระดับประถมศึกษาได้ 100% โดยรัฐจะต้องจัดการศึกษาให้แก่ประชาชน
              โดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายในระดับประถมศึกษาเป็นอย่างน้อย (สถาบันพระปกเกล้า, 2562) และในที่ประชุมโลก
              ว่าด้วยการศึกษา ณ เมืองอินชอน ประเทศไทยได้ให้การรับรองปฏิญญาอินชอนว่าด้วยเรื่องการศึกษา 2573

              โดยระบุสาระส้าคัญว่า “มุ่งให้ทั่วโลกจัดการศึกษาโดยค้านึงถึงการให้การศึกษากับทุกคน (Inclusive) การ
              พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เท่าเทียมกันและการศึกษาตลอดชีวิต ที่เกิดจากนโยบายและการวางแผนที่มี

              ประสิทธิภาพและเกิดจากความร่วมมือของทุกภาคส่วน” (ส้านักเลขาธิการสภาการศึกษา, 2560)  โดยปฏิญญา
              ดังกล่าวได้ให้ประเทศต่าง ๆ ให้ความส้าคัญกับการจัดงบประมาณทางการศึกษา โดยก้าหนดให้อยู่ในช่วง

              ร้อยละ 4-6 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือร้อยละ 15-20 ของงบประมาณแผ่นดิน

                        การก้าหนดเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) ซึ่งเป็น

              กรอบแนวทางในการพัฒนาโลกภายหลังปี 2558 ที่องค์กรสหประชาชาติได้จัดท้าขึ น ได้ก้าหนดเป้าหมาย
              เกี่ยวกับการศึกษาไว้ในข้อ 4 การสร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและ

              เท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ซึ่งได้ก้าหนดแนวทางส้าคัญ 7 แนวทางด้วยกัน ได้แก่
                           1) สร้างหลักประกันว่าเด็กทุกคนส้าเร็จการศึกษาระดับประถมและมัธยมอย่างมีคุณภาพ

              เท่าเทียมและไม่เสียค่าใช้จ่าย น้าไปสู่ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพภายในปี 2573

                           2) สร้างหลักประกันว่าเด็กทุกคนเข้าถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย
              ที่มีคุณภาพภายในปี 2573 เพื่อให้มีความพร้อมส้าหรับการศึกษาในระดับประถมศึกษา





       4      วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33