Page 29 - 22373_Fulltext
P. 29

3) ให้ทุกคนสามารถเข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิค อาชีวศึกษา อุดมศึกษา ที่มีราคาที่สามารถ

                จ่ายได้และมีคุณภาพ ภายในปี 2573

                             4) เพิ่มจ้านวนเยาวชนผู้ใหญ่ที่มีทักษะที่จ้าเป็น รวมถึงทักษะทางเทคนิคและอาชีพส้าหรับการ
                จ้างงาน การมีงานที่ดี และการเป็นผู้ประกอบการภายในปี 2573

                             5) ขจัดความเหลื่อมล ้าทางเพศในการศึกษาและสร้างหลักประกันว่ากลุ่มที่เปราะบางซึ่งรวมไป
                ถึงผู้พิการ ชนพื นเมือง และเด็กเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชีพทุกระดับอย่างเท่าเทียมภายในปี 2573

                             6) สร้างหลักประกันว่าเยาวชนและผู้ใหญ่ทุกคนสามารถอ่านออกเขียนได้และค้านวณได้ภายใน

                ปี 2573

                             7) สร้างหลักประกันว่าการศึกษาของผู้เรียนได้สร้างเสริมให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองโลก มีจิตส้านึก
                ในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ และส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสุขไม่ใช้ความรุนแรง

                (สถาบันพระปกเกล้า, 2562)

                       1.3.2 สิทธิของเด็ก และเยาวชนในการได้รับการศึกษาในระดับประเทศ

                          รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 54 (ราชกิจจานุเบกษา, 2560) ระบุว่า

                รัฐต้องด้าเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ
                อย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ในส่วนของเด็กเล็กนั น รัฐต้องด้าเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และ

                พัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาดังกล่าว เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกับวัย
                โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการด้าเนินการด้วย

                ซึ่งในการด้าเนินการดังกล่าว รัฐต้องด้าเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการศึกษา
                ตามความถนัดของตน โดยให้จัดตั งกองทุนเพื่อใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลดความเหลื่อมล ้า

                ในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพ โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่
                กองทุนหรือใช้มาตรการ หรือกลไกทางภาษี  รวมทั งการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการ

                ลดหย่อนภาษีด้วย

                          นอกจากนี รัฐต้องด้าเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั ง
                ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ

                ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ด้าเนินการ ก้ากับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การจัด             การวิจัยขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล ้าทางด้านการศึกษา
                การศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล ทั งนี ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดยการศึกษา

                ทั งปวงต้องมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และ
                มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ


                          นอกจากนี การปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาภายใต้รัฐธรรมนูญฯ มาตรา 257 ยังได้ระบุเป้าหมาย
                การปฏิรูปประเทศเพื่อท้าให้สังคมมีความสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล ้า
                และมาตรา 258 (จ) ข้อ 2 ที่ให้ด้าเนินการตรากฎหมายเพื่อจัดตั งกองทุนตามมาตรา 54 วรรค 6 (กองทุนเพื่อ

                ความเสมอภาคทางการศึกษา) ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ (กองทุนเพื่อความ
                เสมอภาคทางการศึกษา, 2563, น.4)




                                                               วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า   5
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34