Page 57 - b29259_Fulltext
P. 57

กล่าวคือ มีหน้าที่ร่วมกันในการตราตัวบทกฎหมาย ร่วมกันตรวจสอบ

        ถ่วงดุลการทำาหน้าที่ของฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการผ่านการประชุม
        สภาผู้แทนราษฎร หรือผ่านระบบคณะกรรมาธิการ รวมตลอดไปถึงร่วมกัน
        ทำาหน้าที่ในฐานะผู้แทนปวงชนตามระบอบประชาธิปไตยผ่านระบบผู้แทน

        (Representative Democracy)



        3.   หลักอาณัติของผู้แทนราษฎร

               ตามระบอบประชาธิปไตยผ่านระบบผู้แทน (Representative

        Democracy) ส่งผลให้เกิดการเลือกตั้งเพื่อคัดสรรบุคคลที่จะมาทำาหน้าที่
        ผู้แทนของประชาชน โดยการเลือกตั้งนี้สะท้อนให้เห็นถึง “การผ่องถ่าย หรือ

                                       128
        มอบอำานาจให้แก่ผู้แทน” (Mandate)  อันเป็นสิ่งที่ประชาชนใช้ควบคุม
                                129
        กำากับการปฏิบัติหน้าที่ผู้แทน  กระนั้นก็ตาม คำาถามที่น่าพินิจพิเคราะห์
        ในเบื้องต้นก็คือ ผู้ที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะต้อง

        ทำาหน้าที่ของตนเองไปภายใต้คำาสั่ง หรือความต้องการของผู้เลือก ณ ท้องที่
        นั้น ๆ เท่านั้นหรือ กล่าวอีกนัยหนึ่ง จะต้องทำาหน้าที่ไปโดยคำานึงถึงเฉพาะเขต

        ที่ตนเองได้รับการเลือกตั้ง (Constituency) มาเท่านั้น หรือต้องทำาหน้าที่ไป
        โดยคำานึงถึงบ้านเมืองส่วนรวมอันประกอบไปด้วยบุคคลที่มิได้เลือกตน




        128   Gordana Siljanovska-Davkova and Tanja Karakamisheva-Jovanovska,
        Democracy, Limitation of Mandates and Incompatability of Political
        Functions, European Commission for Democracy Through Law (Venice
        Commission) 4 (2011).
        129   Id. at 7.
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62