Page 150 - kpiebook62001
P. 150

ฝึกอาชีพนั้นมีฐานความเชื่อว่าคนเหล่านี้ขาดทักษะ ความรู้ ความช านาญ และช่องทางในการเข้าหาตลาด แต่หน่วยงาน

               จัดท านโยบายอาจต้องตั้งค าถามพื้นฐานก่อนว่าภาพความเหลื่อมล้ าในประเทศไทยเกิดขึ้นจากสาเหตุใด และท าไมถึง
               เลือกใช้สวัสดิการในการแก้ไขปัญหา เพราะหากความเหลื่อมล้ าเกิดขึ้นจากโครงสร้างค่าจ้างในตลาดแรงงานมีความ

               เหลื่อมล้ าสูง หรือเกิดจากความเหลื่อมล้ าในการถือครองทรัพย์สินซึ่งเป็นปัญหาโครงสร้างตั้งแต่อดีต การจัดท านโยบาย

               สวัสดิการมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหานี้เพียงใด
                       ดังที่คณะวิจัยได้วิเคราะห์ว่าปัญหาความเหลื่อมล้ านั้นเป็นปัญหาที่เกินกว่าโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐจะ

               รับมือได้ แม้จะวัดอย่างหยาบที่สุดผ่านความเหลื่อมล้ าด้านรายได้ เพราะหากในท้ายที่สุดกลุ่มคนที่มีรายได้สูงในสังคมมี

               อัตราการเติบโตของรายได้ที่รวดเร็วกว่า บัตรสวัสดิการแห่งรัฐก็ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ ดังนั้น ผู้จัดท านโยบายควรต้องมี
               แนวทางชัดเจนว่าอยากเห็นภาพความเหลื่อมล้ าในประเทศไทยพัฒนาไปอย่างไร นโยบายหรือมาตรการต่าง ๆ จะไป

               ตอบโจทย์การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ าผ่านช่องทางใด ควรให้การสนับสนุนกลุ่มคนไหนเพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อน มี

               ประสิทธิภาพประสิทธิผลอย่างไร และมีความยั่งยืนหรือไม่
                       ประเด็นที่ส าคัญอีกประการที่งานศึกษาอาจจะไม่สามารถตอบได้ชัดเจนนัก แต่จากประสบการณ์จาก

               ต่างประเทศช่วยชี้ให้เห็นว่าปัจจัยส าคัญต่อความส าเร็จของนโยบายสวัสดิการคือการตอบรับจากสังคม โดยเฉพาะอย่าง

               ยิ่งกลุ่มชนชั้นกลางที่มีขนาดใหญ่ นอกเหนือจากข้อสังเกตเรื่องการตอบรับและความโปร่งใสของโครงการแล้ว จะท า
               อย่างไรให้คนจ านวนมากในสังคมมองเห็นว่านโยบายสวัสดิการเป็นประโยชน์กับสังคมในภาพรวมและไม่ได้เป็นภาระที่

               ชนชั้นกลางจะต้องดูแลคนจนที่ไร้ศักยภาพ

                       (2) ข้อเสนอแนะด้านการแก้ไขปัญหาการด้าเนินงาน


                       ในแง่ของการด าเนินงาน คณะวิจัยมีข้อเสนอแนะหลายประการดังนี้ ประการแรก บัตรสวัสดิการแห่งรัฐยังขาด
               ความชัดเจนด้านเป้าหมายว่าต้องการช่วยเหลือคนกลุ่มใดเป็นพิเศษ เพราะลักษณะสวัสดิการที่จัดสรรให้ผู้มีรายได้น้อย

               และผลประโยชน์ที่ได้รับนั้นมีความซ้ าซ้อนและการสร้างแรงจูงใจยังค่อนข้างคลุมเครือ กลุ่มคนชราที่มีการสงเคราะห์เบี้ย

               ยังชีพให้เพิ่มเติมจากเบี้ยยังชีพคนชราที่เป็นโครงการของกระทรวงมหาดไทยเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุด ทั้งนี้ ปัญหานี้
               กระทรวงการคลังรับทราบแล้วในบางแง่มุม อาทิ มีการพิจารณาเกณฑ์ส าหรับผู้สูงอายุให้แตกต่างกันระหว่างผู้สูงอายุที่

               อยู่ล าพังกับผู้สูงอายุที่มีบุตรหลานดูแล แต่ในภาพใหญ่ ยังขาดความชัดเจนอยู่ว่ากลุ่มเป้าหมายส าคัญของโครงการนี้คือ

               คนกลุ่มใด ผู้จัดท านโยบายจะต้องก าหนดเป้าหมายให้ชัดเจนเพื่อให้การออกแบบโครงการไปสร้างแรงจูงใจให้ถูกจุด
                       ประการที่สอง การกระจายประโยชน์ ควรมีการทบทวนส่วนที่ผู้มีบัตรจะได้ใช้แตกต่างกัน เช่น ค่าโดยสาร

               รถเมล์ รถไฟฟ้า รถไฟ รถของบริษัทขนส่ง เนื่องจากผู้มีบัตรบางส่วนไม่ได้ใช้ประโยชน์ในช่องดังกล่าว อาจมีการทบทวน

               ว่าจะกระจายประโยชน์ส่วนนี้อย่างไร นอกจากนั้น มาตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือ
               โครงการฝึกอาชีพอาจยังไม่ตอบโจทย์คนบางกลุ่ม ข้อสังเกตนี้ยังไปเกี่ยวโยงกับเรื่องกลุ่มเป้าหมายของโครงการนี้ เพราะ

               ผู้มีบัตรจ านวนหนึ่งก็เป็นผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงที่อาจไม่สามารถท างานได้ ผู้มีบัตรบางกลุ่มมีงานท าอยู่แล้วและ

               ยังคงยึดอาชีพเดิมในการหารายได้ ที่ผ่านมา โครงการฝึกอาชีพเหล่านี้ประสบความส าเร็จเพียงใด ท าให้ผู้เข้าร่วมมี


                                                               141
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155