Page 67 - kpiebook62015
P. 67

นโยบายจัดการขยะ นโยบายการใช้สารเคมีในการเกษตร นโยบายส่งเสริมความเป็นพลเมือง
                        ประชาธิปไตย นโยบายแก้ปัญหาทะเลาะวิวาท และ นโยบายอนุรักษ์ป่าและปลูกป่า

                                ผลการด าเนินงานช่วยพัฒนากรอบคิด (mindset) ของพลเมืองที่ร่วมโครงการจาก
                        passive citizen พลเมืองที่ร้องขอและรอรับจากรัฐ โดยใช้วิธีการแก้ปัญหาแบบเดิม ๆ สู่

                        concerned  citizen  และ active  citizen พลเมืองที่ตระหนักในความเป็นพลเมืองของตนเอง

                        และลงมือกระท าด้วยตนเอง  ซึ่งจะแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการใหม่ที่เริ่มต้นจากตนเองไปสู่หน่วยงาน
                        รัฐที่มีอ านาจหน้าที่ ผลของโครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด ยัง

                        สามารถตอบสนองยุทธศาสตร์ของจังหวัด คือ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นพลเมือง ที่สามารถ
                        พัฒนาพลเมืองสู่พลเมืองที่มีส่วนร่วม ค านึงถึงปัญหาสาธารณะของชุมชน และร่วมกันแก้ไข

                        ปัญหาและสู่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผลของการวัดประเมินที่พลเมืองความเข้าใจ และความ

                        ตระหนักในการเป็นพลเมืองเพิ่มขึ้น  ตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การเมืองโปร่งใสของจังหวัด พบว่า
                        มีหมู่บ้านที่ 4 ต.สว่าง อ.โพนทอง น าแนวคิดรากฐานประชาธิปไตย ความมีวินัย ความรับผิดชอบ

                        ความซื่อสัตย์ ความมีเหตุผล และจิตสาธารณะ เป็นแนวทางในการส่งเสริมการเลือกตั้งไม่ซื้อสิทธิ

                        ขายเสียง โดยน าหลักการรากฐานประชาธิปไตยดังกล่าวไปใช้เป็นหลักการในเลือกตั้ง เพื่อผู้เลือก
                        มีหลักในการเลือก และรณรงค์เสวนากับผู้สมัคร จนประสบความส าเร็จในการไม่ซื้อสิทธิขายเสียง

                        ส าหรับยุทธศาสตร์การสร้างวินัยและคุณธรรม เกิดแผนพัฒนาความซื่อตรงในพื้นที่ 10 อ าเภอ
                        และส าหรับยุทธศาสตร์การสร้างภาคีเครือข่าย/หน่วยงาน แกนน าให้ระดับอ าเภอมีการบูรณาการ

                        กันอย่างเป็นองค์รวมมากขึ้น มีการท างานร่วมกันระหว่างอ าเภอที่อยู่ใกล้เคียง มีการเชิญวิทยากร

                        หรือผู้มีความรู้หรือแกนน าขยายผลกันระหว่างอ าเภอเพื่อเป็นการใช้ทรัพยากรร่วมกัน  มีการ
                        ด าเนินกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างเป็นรูปธรรมร่วมกัน  และมีสมาชิก

                        พันธมิตรซึ่งขับเคลื่อนโครงการของ สปสช.(ส านักงานปฏิรูปสุขภาพแห่งชาติ) เข้าร่วมเป็นสมาชิก
                        เริ่มต้นของสภาพลเมือง



                        4.2 ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ที่ 2


                                องค์ความรู้ที่เสริมสร้างพลังพลเมืองในพื้นที่บูรณาการนั้น พบว่ามีองค์ความรู้ที่ใช้และมี

                        ความส าคัญในการด าเนินโครงการและสอดคล้องกับงานวิชาการด้านการส่งเสริมชุมชนเข้มแข็ง 7
                        ชุดองค์ความรู้ซึ่งมีความส าคัญในแต่ละขั้นตอนของการด าเนินการมากน้อยแตกต่างกัน ได้แก่ 1)

                        องค์ความรู้ด้านศักยภาพของสมาชิกชุมชน ที่ต้องมีความรู้ มีทักษะและต้องการพึ่งพาตนเอง 2)







                                                               55
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72