Page 74 - kpiebook62015
P. 74

จากภาพที่ 4.1 อธิบายได้ว่า การด าเนินโครงการปฏิบัติการเสริมสร้างพลังพลเมือง
                        จังหวัดร้อยเอ็ดเริ่มต้นจากความต้องการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในพื้นที่เพื่อความเป็นพลเมืองใน

                        ระบอบประชาธิปไตยที่เข้มแข็ง ขณะที่การท างานในเชิงบูรณาการเป็นเป้าหมายของการ
                        บริหารงานหน่วยงานของรัฐเช่นกัน ในปีที่ 1 ของโครงการ สถาบันพระปกเกล้าซึ่งมีเครือข่ายใน

                        พื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ดผ่านศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมืองและเป็นผู้ประสานงานส าคัญในการ

                        ด าเนินโครงการ  แกนน าจากศูนย์ ฯ ประสานงานภาคส่วนต่าง ๆ  องค์ความรู้ในระยะเวลา
                        ดังกล่าว คือ การยึดหลักการประชาธิปไตย ให้ทุกคนมีส่วนร่วม สร้างความไว้วางใจ ด้วยการ

                        สื่อสารที่มีประสิทธิภาพ  ประเด็นหลัก ๆ ในระยะเริ่มต้นโครงการคือ การท าอย่างไรให้เข้าถึง
                        ความต้องการของพื้นที่  ท าอย่างไรจึงมีเป้าหมายร่วมและมีทิศทางพัฒนาพื้นที่และพลเมืองไปใน

                        ทิศทางเดียวกันในทุกภาคส่วน การสร้างความไว้วางใจในการท างานร่วมกันและในระหว่าง

                        องค์กร หน่วยงาน ภาคี และพื้นที่จะเกิดขึ้นได้อย่างไร การสื่อสารและระบบสื่อสารเพื่อให้บรรลุ
                        ความร่วมมือ ไว้วางใจ และมีส่วนร่วมจะท าอย่างไร

                                ระยะปลายปีด าเนินโครงการปีที่ 1 ต่อเนื่องในปีที่ 2  คือ การเสริมสร้างศักยภาพของ

                        แกนน าและสมาชิกนักปฏิบัติในพื้นที่ เพื่อความรู้ ความเข้าใจ ต่อหลักการประชาธิปไตย การเป็น
                        พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ความเป็นผู้น า องค์ความรู้ที่ใช้เป็นองค์ความรู้เพื่อพัฒนา

                        ศักยภาพ ได้แก่ องค์ความรู้ ผู้น า หลักการประชาธิปไตย  และยังคงต้องใช้ การสื่อสารและ
                        ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ การสร้างความไว้วางใจ และ การมีส่วนร่วม อยู่ต่อเนื่อง

                                กลางปีที่ 2 ต่อเนื่องปีที่ 3 แกนน าในพื้นที่ขยายผลความรู้ ด้วยการจัดกิจกรรมให้ความรู้

                        เชิงปฏิบัติการกล่าวคือ สมาชิกที่เข้าร่วมได้พัฒนาทักษะด้วยโครงการและกิจกรรมที่มีการปฏิบัติ
                        จริง โดยมีการถอดบทเรียนเพื่อพัฒนางาน การวัดประเมิน และ เริ่มต้นขยายกลุ่มเป้าหมายเพื่อ

                        สร้างความเป็นพลเมือง องค์ความรู้ที่ใช้เพื่อประสิทธิภาพของการท ากิจกรรมและการติดตาม
                        ประเมินเป้าหมายรร่วม ได้แก่ องค์ความรู้ด้านการติดตามเป้าหมายและการเรียนรู้อย่าง

                        ต่อเนื่อง และ ยึดหลักการประชาธิปไตย การสื่อสารและระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

                        ความไว้วางใจ และ การมีส่วนร่วม
                                ในปีที่ 3 มีการขยายพื้นที่จัดกิจกรรมเป็นการขยายผลเชิงกว้างสู่พื้นที่อื่น ตามความ

                        ต้องการของพื้นที่นั้น ๆ  ส่งเสริมการรวมตัวของแกนน าและสมาชิกตั้งสภาพลเมืองเพื่อเป็นพื้นที่
                                                                                                  11
                        สาธารณะในการพูดคุยแลกเปลี่ยนการพัฒนาพื้นที่ร่วมกันด้วยกระบวนการประชาธิปไตย  องค์


                        11
                            สังเกตการณ์ประชุมการก่อตัวของสภาพลเมือง ณ ห้องไพฑูรย์ รร.เพชรรัตต์ อ.เมือง จ.
                        ร้อยเอ็ด วันที่ 14 กรกฏาคม 2561  พบว่ามีการขยายเครือข่ายโดยมีแกนน าจาก อ. จังหาร




                                                               61
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79