Page 161 - kpiebook62016
P. 161

144







                       ตารางที่ 5.3 ผลส ารวจคุณภาพการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของตูนิเซีย

                                  ตัวชี้วัด            ไร้คุณภาพ   ต้องปรับปรุง  คุณภาพเพียงพอ  คุณภาพสูง
                       กฎหมายและกระบวนการเลือกตั้ง                                     *

                       สภาพแวดล้อมในการเลือกตั้ง                                       *
                       ความเที่ยงตรงในการเลือกตั้ง                                     *

                       การแสดงออกถึงอ านาจของผู้มาใช้สิทธิ                             *
                       เสรีภาพในการหาเสียง                                             *

                       การมีส่วนร่วมของเด็กและผู้หญิง                                  *
                       เสรีภาพในการมีส่วนร่วม                                          *

                       การเคลื่อนย้ายในช่วงการเลือกตั้ง                                *
                       กระบวนการนับคะแนน                                               *


                       ที่มา: International Republican Institute, op. cit., p. 31.


                              จากตารางข้างต้น จะพบว่า การเลือกตั้งในตูนิเซีย ค.ศ. 2014 ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่าย

                       บริหาร ต่างได้รับการยอมรับจากนานาชาติและองค์กรระหว่างประเทศ อยู่ในระดับ Adequate คือ
                       เพียงพอต่อการวัดว่ากระบวนการเลือกตั้งเป็นประชาธิปไตยและครบเงื่อนไขของการเลือกตั้งใน

                       มาตรฐานระดับสากล กรณีนี้ท าให้เห็นได้ว่าการเมืองเชิงสถาบันของตูนิเซียได้ถูกออกแบบจัดเรียงจนมี

                       เสถียรภาพระดับหนึ่ง และมีโอกาสเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยภายใต้กฎกติกาที่มั่นคงได้


                       บทบาทของสถาบันและตัวแสดงทางการเมือง


                              การปฏิวัติของประชาชนจากเหตุการณ์ Arab Spring ถือว่าเป็นการปฏิวัติที่ภาคประชาชนเข้า
                                                                                          386
                       มามีส่วนร่วมอย่างมาก และเป็นการปฏิวัติด้วยเทคโนโลยี (Cyber-revolution)  ที่มีการน าเอากลไก
                       อินเตอร์เน็ต อีเมล์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ เข้ามาต่อสู้ทั้งในเชิงความคิด และในการขับเคลื่อน

                       มวลชนลงสู่ท้องถนน เพื่อเรียกร้องให้มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่ประชาธิปไตยอย่างสันติวิธี







                       386  Alyssa Alfano, “A Personal Perspective on the Tunisian Revolution”, The Arab Spring of Discontent: A Collection from
                       E-International Relations [online], January 27, 2017, Available from http://www.e-ir.info/wp-content/uploads/arab-spring-
                       collection-e-IR.pdf.
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166