Page 19 - kpiebook62016
P. 19

2






                                                                                    5
                       จัดโดยส านักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า มิถุนายน 2555”  และจุลสารของส านักงาน
                                                                                                  6
                       เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร “การพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย”  เป็นต้น แต่
                       กระนั้น ยังคงมีคนจ านวนมากที่สับสน ไม่เข้าใจความหมาย คุณสมบัติ และเงื่อนไขของการเป็น

                       ประชาธิปไตย ส่งผลให้การถกสนทนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ในประเด็นการสร้างประชาธิปไตยของ

                       ไทยเป็นไปอย่างยากล าบาก

                              อีกทั้ง เมื่อส ารวจงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเส้นทางสู่ประชาธิปไตยและรูปแบบการจรรโลง

                       ประชาธิปไตยซึ่งเป็นประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ กลับพบว่างานเขียนและงานวิจัยมีอยู่น้อย

                       มากในวรรณกรรมทางรัฐศาสตร์ของไทย งานวิชาการของไทยที่เคยศึกษาระบอบประชาธิปไตยในเชิง

                       เปรียบเทียบอย่างลุ่มลึก เช่น “ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย”  โดย ชัยอนันต์

                               7
                                                                                                   8
                       สมุทวณิช  งานของโกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์ “ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตย”  การศึกษา
                       ของนิยม รัฐอมฤต เรื่อง “การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ” งานเขียนฉบับนี้เป็น
                       การศึกษาเปรียบเทียบ โดยน าเสนอให้เห็นถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของอังกฤษ

                       สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อิตาลี ยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก เอเชียตะวันออก และจีน  และงานของ
                                                                                                 9
                       ไชยวัฒน์ ค ้าชู และนิธิ เนื่องจ านงค์ เรื่องการเมืองเปรียบเทียบ ทฤษฎี แนวคิด และกรณีศึกษา ซึ่งได้

                       น าเสนอทั้งแนวทางการศึกษาเปรียบเทียบ มิติการศึกษาเปรียบเทียบในเชิงสถาบันการเมือง ตัวแสดง
                                                                 10
                       ทางการเมือง และประชาธิปไตยเปรียบเทียบ  นอกจากนี้ยังพบว่ามีงานวิชาการไทยที่ศึกษา
                       ประสบการณ์ของประเทศใดประเทศหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น งานของภูวดล ทรงประเสริฐ “อินโดนีเซีย: อดีต

                                  11
                                                                                                  12
                       และปัจจุบัน”  งานของ สีดา สอนศรี “ฟิลิปปินส์: จากอดีตสู่ปัจจุบัน (ค.ศ. 1986-2006)”  การศึกษา

                       5  ส านักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า, เอกสารประกอบการสัมมนา การเมืองการปกครองไทย 2555: 80 ปี ประชาธิปไตยไทย
                       [ออนไลน์], 27 พฤศจิกายน 2558, แหล่งที่มา http://kpi.ac.th/media/pdf/M10_132.pdf.
                       6  ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, การพัฒนาการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย (จุลสาร) (กรุงเทพฯ: กลุ่มงานผลิต
                       เอกสาร ส านักประชาสัมพันธ์ ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2557).
                       7  ชัยอนันต์ สมุทวณิช, ประชาธิปไตย สังคมนิยม คอมมิวนิสต์ กับการเมืองไทย (กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2523).

                       8  โกสินทร์ วงศ์สุรวัฒน์, ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตย (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2532).
                       9  นิยม รัฐอมฤต, การปกครองระบอบประชาธิปไตยในนานาประเทศ (กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553).
                       10  ไชยวัฒน์ ค ้าชู และนิธิ เนื่องจ านงค์, การเมืองเปรียบเทียบ: ทฤษฎี แนวคิด และกรณีศึกษา (กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
                       มหาวิทยาลัย, 2559).
                       11
                         ภูวดล ทรงประเสริฐ, อินโดนีเซีย: อดีตและปัจจุบัน, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547).
                       12  สีดา สอนศรี, ฟิลิปปินส์: จากอดีตสู่ปัจจุบัน (ค.ศ. 1986-2006) (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551).
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24