Page 24 - kpiebook62016
P. 24
7
การครอบง าโดยทหารที่ยาวนานต่อเนื่อง ทดลองใช้รูปแบบรัฐบาลทั้งระบบรัฐสภาและระบบ
ประธานาธิบดี และพยายามวางกลไกในรัฐธรรมนูญช่วยแก้ปัญหาคนกลุ่มน้อยเพื่อเปิดช่องให้ทุกฝ่าย
มีส่วนร่วมได้มากขึ้น
ต้องยอมรับอย่างตรงไปตรงมาว่าประเทศที่เลือกศึกษาเป็นประเทศที่มีข้อมูลภาษาอังกฤษให้
เข้าถึงง่าย มีวรรณกรรมและงานวิจัยที่ศึกษาไว้จ านวนมาก และมีข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลพื้นฐาน
ส าคัญต่างๆ เช่น รัฐธรรมนูญ ผลการเลือกตั้ง ผลประชามติ เป็นภาษาอังกฤษ ผู้เขียนตระหนักดีว่า 8
ประเทศที่เลือกเพื่อศึกษาเปรียบเทียบในการศึกษานี้ ย่อมส่งผลกระทบต่อผลและข้อสรุปของ
24
การศึกษา ตารางที่ 1.1 ด้านล่าง แสดงประเทศที่ศึกษา ที่ตั้งตามภูมิภาค ลักษณะเด่น และระดับ
ประชาธิปไตยของแต่ละประเทศ
ตารางที่ 1.1 ลักษณะส าคัญของการเลือกพื้นที่ในการศึกษา
ภูมิภาค ประเทศ ลักษณะเด่น ระดับประชาธิปไตยวัดโดย
Democracy index ป ี 2015
25
เอเชีย เกาหลีใต้ เคยถูกครอบง าโดยกองทัพ ประชาธิปไตยตั้งมั่น คะแนน 70.6 อันดับ 32
อินโดนีเซีย เคยถูกครอบง าโดยกองทัพ ระดับประชาธิปไตยปานกลาง มีแนวโน้มดีขึ้น
คะแนน 55.6 อันดับ 65
อเมริกาใต้ ชิลี เคยถูกครอบง าโดยกองทัพ ประชาธิปไตยตั้งมั่น คะแนน 72.8 อันดับ 25
อาร์เจนตินา เคยถูกครอบง าโดยกองทัพ ระดับประชาธิปไตยค่อนข้างสูง คะแนน 69.3
อันดับ 34
แอฟริกา ตูนีเซีย เคยถูกปกครองโดยระบอบ ระดับประชาธิปไตยปานกลาง มีแนวโน้มดีขึ้น
พรรคการเมืองพรรคเดียว คะแนน 55.4 อันดับ 66
ไนจีเรีย เคยถูกครอบง าโดยกองทัพ ระดับประชาธิปไตยต ่า คะแนน 40.6 อันดับ 107
ยุโรปตะวันออก ยูเครน เคยถูกปกครองโดยระบอบ ระดับประชาธิปไตยปานกลาง มีแนวโน้มถดถอย
คอมมิวนิสต์ คะแนน 54.5 อันดับ 72
โปแลนด์ เคยถูกปกครองโดยระบอบ ประชาธิปไตยตั้งมั่น คะแนน 71.3 อันดับ 30
คอมมิวนิสต์
24 Barbara Geddes, “How the Cases You Choose Affect the Answers You Get: Selection Bias in Comparative Politics,”
Political Analysis vol. 2 (1990): 131-150.
25
Global Democracy Ranking [online], July 25, 2016, Available from
http://democracyranking.org/wordpress/rank/democracy-ranking-2015/.