Page 100 - kpiebook65064
P. 100
3.2 ขั้นตอนการศึกษา
ในการสังเคราะห์ระบบอภิบาลยาภายใต้กรอบการวิเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อสะท้อนประเด็น
ความเสี่ยงในปัจจุบันและอนาคตในระบบอภิบาลยาของประเทศไทย และจัดท าข้อเสนอแนวทางในการเพิ่ม
โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
50 ประสิทธิภาพของระบบอภิบาลยาได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นเพื่อให้สามารถบรรลุเป้าหมายการศึกษา คณะผู้วิจัย
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
จึงแบ่งขั้นตอนการศึกษาส าคัญ ออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
แผนภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการศึกษา
แผนภาพที่ 3.2 ขั้นตอนการศึกษา
ที่มา: คณะผู้วิจัย
ที่มา: คณะผู้วิจัย
ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลจากเอกสาร
ขั้นตอนที่ 1 การเก็บข้อมูลจากเอกสาร
ในเบื้องต้นการศึกษาธรรมาภิบาลของระบบอภิบาลยาต้องสังเคราะห์การศึกษาที่ต้องผนวก
ในเบื้องต้นการศึกษาธรรมาภิบาลของระบบอภิบาลยากล่าวได้ว่าเป็นการสังเคราะห์การศึกษาที่ต้อง
องค์ความรู้ทางด้านการบริหารงานด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับระบบอภิบาลยาเข้ากับแนวคิดธรรมาภิบาล
ผนวกองค์ความรู้ในทางด้านการบริหารงานด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับระบบอภิบาลยาเข้ากับแนวคิดธรรมาภิบาล
ดังนั้น ในขั้นเริ่มต้นจึงต้องศึกษาข้อมูลเอกสารทั้งเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบอภิบาลยา
ดังนั้นในขั้นเริ่มต้นจึงต้องศึกษาข้อมูลเอกสารทั้งเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับระบบอภิบาลยา กฎหมาย
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อประเมินแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมให้ระบบอภิบาลยา
และระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อประเมินแนวทางที่เหมาะสมในการส่งเสริมให้ระบบอภิบาลยาสอดคล้องตาม
สอดคล้องตามหลักการบริหารงานด้านสุขภาพควบคู่กันกับหลักการธรรมาภิบาล ซึ่งเป็นกรอบการ
หลักการบริหารงานด้านสุขภาพควบคู่กันกับหลักการธรรมาภิบาลซึ่งเป็นกรอบการบริหารงานภาครัฐที่เป็น
บริหารงานภาครัฐที่ต้องปฏิบัติ
เงื่อนไขที่ต้องปฏิบัติ
ดังนั้น เพื่อให้คณะผู้วิจัยได้รับข้อมูลเบื้องต้นอย่างถูกต้องและครบถ้วนจึงมีการศึกษาโดยเริ่มจาก
ดังนั้น เพื่อให้คณะผู้วิจัยได้รับข้อมูลเบื้องต้นอย่างถูกต้องและครบถ้วนจึงมีการศึกษา
การศึกษารวบรวมข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพเพื่อให้สามารถก าหนดหลักการธรรมภิบาลที่เหมาะสม
โดยเริ่มจากการศึกษารวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพเพื่อให้สามารถกำหนดหลักการธรรมภิบาล
กับการบริหารจัดการระบบอภิบาลยาในกรณีประเทศไทยได้มากที่สุด และไม่เป็นการบิดเบือนการบริหารตาม
ที่เหมาะสมกับการบริหารจัดการระบบอภิบาลยาในกรณีประเทศไทย และไม่เป็นการบิดเบือน
หลักการทางด้านสุขภาพในการบรรลุเป้าหมาย
การบริหารตามหลักการทางด้านสุขภาพในการบรรลุเป้าหมาย
ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์กระบวนการและปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบอภิบาลยา
3-3
แต่ละขั้นตอน
เมื่อมีการสรุปข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ตลอดจนแนวทางการปฏิบัติของระบบ
อภิบาลยาในแต่ละขั้นตอนแล้ว นำไปสู่การวิเคราะห์และระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders)
ที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนของระบบอภิบาลยา รวมถึงโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง (Risk)ที่ส่งผล
กระทบในเชิงระบบอภิบาลยาในเบื้องต้นได้
บทที่ 3
สถาบันพระปกเกล้า