Page 99 - kpiebook65064
P. 99
3.1.3 วิเคราะห์โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงของระบบอภิบาลยาในระดับนโยบาย
จากขั้นตอนการศึกษาทั้ง 2 ขั้นตอนข้างต้นจะน าไปสู่การวิเคราะห์สังเคราะห์ประเด็นความเสี่ยงที่อาจ
เกิดขึ้นในระบบอภิบาลยาในสามขั้นตอน ที่อาจเกิดขึ้นในระดับโยบาย
3.1.4 การจัดท าข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของการศึกษาครั้งนี้ให้ความส าคัญกับข้อเสนอ 2 ส่วนได้แก่ (1) แนวทางการ
ปรับปรุงโครงสร้างระบบอภิบาลยา และ(2) แนวทางการปรับปรุงการก ากับดูแลระบบอภิบาลยาเพื่อสร้างธรร 49
โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
มาภิบาลขึ้น
แผนภาพที่ 3.1 แนวทางการศึกษาของโครงการ
แผนภาพที่ 3.1 แนวทางการศึกษาของโครงการ
การบ่งชี้ความหมายของ "ธรรมาภิบาลของระบบอภิบาลยา"
การทบทวนวรรณกรรมว่าด้วยระบบ ทบทวนวรรณกรรมจากกรณีศึกษาเรื่องการอภิบาลยา
ในทางปฏิบัติของไทย
ธรรมาภิบาลยาในกรณีต่างประเทศ ในทางปฏิบัติของไทย
1. ระบุโครงสร้างของระบบอภิบาลยาที่ชัดเจน
2. ระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบอภิบาลยา
การระบุโครงสร้างและบทบาทผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับระบบอภิบาลยา
1. ภาครัฐ 2. ผู้ประกอบธุรกิจยา 3. สมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
นโยบายระดับชาติ (National) อาทิ
- คณะกรรมการยา - คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
- คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ - กระทรวงสาธารณสุข
- ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา - บริษัทยา - สมาคมวิชาชีพ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแต่ละขั้นตอนของระบบยา
1. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ภายในผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มเดียวกัน
2. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในขั้นตอนเดียวกัน
วิเคราะห์ความเสี่ยงของระบบยาในระดับนโยบาย
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1. ปรับปรุงโครงสร้างระบบอภิบาลยาที่มีธรรมภิบาล
2. ปรับปรุงกระบวนการก ากับดูแลระบบอภิบาลในแต่ละขั้นตอน
ที่มา: คณะผู้วิจัย
ที่มา: คณะผู้วิจัย 3-2
3.2 ขั้นตอนการศึกษา
ในการสังเคราะห์ระบบอภิบาลยาภายใต้กรอบการวิเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อสะท้อน
ประเด็นความเสี่ยงในปัจจุบันและอนาคตในระบบอภิบาลยาของประเทศไทย และจัดทำข้อเสนอ
แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพของระบบอภิบาลยาได้อย่างเหมาะสม ดังนั้น เพื่อให้สามารถบรรลุ
เป้าหมายการศึกษา คณะผู้วิจัยจึงแบ่งขั้นตอนการศึกษาสำคัญ ออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
บทที่ 3
สถาบันพระปกเกล้า