Page 93 - kpiebook65064
P. 93
โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ 43
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
แนวความคิด องค์ประกอบ ที่มา
กำหนดให้องค์กร/คณะกรรมการ/เจ้า คณะผู้วิจัย
หน้าที่ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความ
ระมัดระวัง (duty of care)
4.
ความมี มีความรวดเร็วในกระบวนการทำงาน UNDP (ประสิทธิภาพและประสิทธิผล)
ประสิทธิภาพ (Speed) ก.พ.ร. (หลักประสิทธิภาพ)
(Efficiency) ก.พ.ร. (หลักการตอบสนอง)
เน้นความคุ้มค่า (Worthy) ทั้งในแง่มุม UNDP (ประสิทธิภาพและประสิทธิผล)
ด้านต้นทุน (Cost) และผลลัพธ์ของ ก.พ.ร. (หลักประสิทธิภาพ)
การรักษา/บำบัดโรค สำนักนายกรัฐมนตรี (หลักความ
คุ้มค่า)
มีปริมาณยาที่ครอบคลุมตามความ ก.พ.ร. (หลักประสิทธิภาพ)
จำเป็น
5. การมีส่วนร่วม - การมีส่วนร่วมของประชาชน ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย (การมีส่วน
(Participation) (Citizens) ร่วม)
* การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ก.พ.ร. (หลักการมีส่วนร่วม)
* การมีช่องทางเพื่อเข้าถึงข้อมูลข่าว Mark Bevir(ความเท่าเทียมกันในการมี
สาร ส่วนร่วมตัดสินใจ)
* การมีช่องทางของการอุทธรณ์ร้อง WHO (ระบบการร้องเรียนและ
ทุกข์ อุทธรณ์)
WHO (การสื่อสารสองทาง)
- การมีส่วนของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ภาค ธนาคารพัฒนาแห่งเอเชีย(การมีส่วน
เอกชน และประชาสังคม (Specialist, ร่วม)
Private Sectors and Civil Societies) UNDP (การมีฉันทานุมัติร่วมในสังคม)
* การรับรู้และเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ก.พ.ร. (หลักการมีส่วนร่วม)
* การมีช่องทางเพื่อมีส่วนร่วมในการ ก.พ.ร. (หลักมุ่งเน้นฉันทามติ)
พิจารณาเรื่องที่เกี่ยวข้อง WHO (ระบบการร้องเรียนและ
* การมีช่องทางสำหรับติดตามและ อุทธรณ์)
ตรวจสอบเรื่องที่เกี่ยวข้อง WHO (การสื่อสารสองทาง)
* การมีช่องทางของการอุทธรณ์ร้อง
ทุกข์
ที่มา: คณะผู้วิจัย
ซึ่งการศึกษาได้มุ่งเน้นเป้าหมายการวิเคราะห์เพื่อเสริมสร้างความมีธรรมาภิบาลของ
ระบบอภิบาลยาเพื่อให้ระบบอภิบาลสามารถบรรลุเป้าหมายสำคัญทั้งด้านการรักษาและ
การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพทางคณะผู้วิจัยได้กำหนด 3 เป้าหมายสำคัญ คือ
(1) การมียาที่มีคุณภาพดีเพียงพอและครอบคลุมต่อการรักษาสุขภาพของประชาชน
(2) มีการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐอย่างคุ้มค่า
(3) ทำให้ระบบอภิบาลยาของรัฐปลอดจากการทุจริต
โดยคณะผู้วิจัยได้สรุปกรอบแนวคิดการศึกษาธรรมาภิบาลของระบบอภิบาลยาตาม
แผนภาพที่ 2.4
บทที่ 2
สถาบันพระปกเกล้า