Page 89 - kpiebook65064
P. 89
โครงการสังเคราะห์ข้อเสนอ 39
เพื่อเสริมสร้างการอภิบาลระบบยา
การคัดเลือกยาจำเป็น (ต่อ)
- มีการกำหนดเกณฑ์สำหรับคัดเลือก
คณะกรรมการอย่างชัดเจนและมีการ
ประกาศรายชื่อคณะกรรมการชุดต่าง ๆ
ต่อสาธารณะ แม้ว่าจะไม่มีการกำหนด
เกณฑ์การหมุนเวียนของกรรมการแต่มี
การทำในทางปฏิบัติ
- มีการกำหนดขอบข่ายการทำงานของ
คณะกรรมการผู้ตัดเลือกยาอย่างชัดเจน
และเปิดเผยต่อสาธารณะ
การจัดซื้อยา
- ระเบียบปฏิบัติในการจัดซื้อ - การมีระบบอุทธรณ์ร้องทุกข์ - การมีอยู่และการใช้หลักเกณฑ์ที่ชัดเจน
ยาเป็นระบบที่มีการแข่งขัน ต่อผลการประมูลอย่างเป็น ในการคัดเลือกสมาชิกคณะกรรมการที่
- มีการกำหนดหลักการปฏิบัติ ทางการ เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ โดยในประเทศ
การจัดซื้อยาเพื่อความโปร่งใส - การตรวจสอบหน่วยงานผู้ทำ ไทยมิได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์อย่างเป็น
ในประเทศไทยกำหนดให้มีการ หน้าที่จัดซื้อยาของสถาน ลายลักษณ์อักษร แต่โดยปกติจะพิจารณา
เผยแพร่และสามารถใช้ พยาบาลที่ยังไม่ครอบคลุมและ แต่งตั้งคณะกรรมการตามตำแหน่งของผู้มี
ประโยชน์ได้ มีการจัดซื้อที่อิง เพียงพอ ส่วนเกี่ยวข้องในการจัดซื้อในโรงพยาบาล
กับบัญชียาจำเป็น มีการ เป็นสำคัญ
ประกวดราคาต่อสาธารณะ มี - การใช้ระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารใน
การให้ใช้ยาตามชื่อยาสามัญ การรายงานผลของผลิตภัณฑ์ยาที่มีปัญหา
(Generic Names) เป็นต้น โดยในประเทศไทยจะมีการรายงานผล
- มีการกำหนดวิธีการจัดซื้อยา คุณภาพของยาโดยกรมวิทยาศาสตร์
ในเชิงปริมาณโดยอิงกับข้อมูล การแพทย์และเผยแพร่ผลดังกล่าวผ่าน
การใช้ยาและตัวชี้วัดด้านการ เว็บไซต์
ดูแลสุขภาพพื้นฐาน - การตรวจสอบคุณภาพยา ในกรณีของ
- มีแบบแผนการปฏิบัติที่ ประเทศไทยได้คะแนนประเมินที่ต่ำใน
ชัดเจนเพื่อทำให้แน่ใจว่าการ ด้านนี้เนื่องจากการขาดแนวทางปฏิบัติที่
จ่ายค่ายาสัมพันธ์กับยาที่มีการ เป็นมาตรฐานในการตรวจสอบคุณภาพยา
ส่งมอบ
- มีระบบติดตามและรายงาน
ผลศักยภาพของผู้แทนจำหน่าย
ยาภายหลังการประกวดราคา
โดยในประเทศไทย แม้ว่าจะ
ไม่มีข้อกำหนดในเรื่องนี้และยัง
ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของสถาน
พยาบาลเป็นหลัก แต่โดยทั่วไป
แล้วมีการประเมินศักยภาพของ
ผู้แทนจำหน่ายอยู่เสมอ โดย
อาศัยเกณฑ์ ISO 9000 ของ
สถานพยาบาล
ที่มา: WHO. (2006). Measuring Transparency in Medicines Registration, Selection and Procurement: Four country
assessment studies. p. 7-18.
บทที่ 2
สถาบันพระปกเกล้า