Page 22 - kpi12626
P. 22
ด้วยเหตุนี้ การค้นหาแนวทางใหม่ๆ ในการวิเคราะห์ตีความและใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางการเงินการ
บัญชีจึงมีความจ าเป็นยิ่ง เพื่อให้การบริหารงานท้องถิ่นเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดภายใต้
เงื่อนไขหรือข้อจ ากัดต่างๆ กรอบวิเคราะห์และแนวทางการใช้ประโยชน์จากข้อมูลฐานะทางการเงินขององค์กร
ปกครองท้องถิ่นดังที่หนังสือเล่มนี้น าเสนอไว้น่าจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถรับมือและจัดการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้
ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม ด้วยกลวิธีที่แยบคาย และมีเป้ าหมายในการด าเนินการที่ชัดเจนมากขึ้นได้ต่อไป
1.3 ที่ มาของหนังสือเล่มนี้
หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นโดยใช้ข้อมูลจากงานวิจัยเรื่องการวิเคราะห์ผลการด าเนินงานด้านการเงินการคลัง
ของเทศบาล ได้รับทุนวิจัยสนับสนุนจากวิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า ด าเนินการ
ระหว่างเดือนมีนาคมถึงธันวาคม 2553 ข้อมูลที่ใช้มาจากสองส่วนที่ส าคัญ ส่วนที่หนึ่งได้แก่ข้อมูลทางการเงินการ
บัญชี ซึ่งได้มาจากงบแสดงฐานะทางการเงินของเทศบาลในปีงบประมาณ 2552 เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
และหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อมูลส่วนที่สองได้แก่ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพพื้นฐานของชุมชน ข้อมูลเกี่ยวกับ
บริการสาธารณะที่เทศบาลแต่ละแห่งจัดให้มีขึ้น และข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารของเทศบาลและ
ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับการประเมินฐานะทางการเงินของเทศบาล
ข้อมูลทางการเงินการบัญชีของเทศบาลได้มาจากการส ารวจทางไปรษณีย์ (mail survey) จากเทศบาล
จ านวน 972 แห่ง (คิดเป็นประมาณร้อยละ 48.4 ของเทศบาลทั้งหมด 2,008 แห่ง) แบ่งออกเป็นเทศบาลนคร
จ านวน 12 แห่ง เทศบาลเมืองจ านวน 88 แห่ง และเทศบาลต าบล 872 แห่ง นอกจากนี้ เทศบาลกลุ่มตัวอย่างที่ได้ 11
การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น:
ส ารวจมีขนาดประชากร พื้นที่การปกครอง และขนาดของงบประมาณรายจ่ายที่แตกต่างกัน และมีการกระจายตัว
ในทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ดังมีรายละเอียดแสดงในตารางที่ 1-1 ด้านล่าง
ตารางที่ 1-1 คุณลักษณะของเทศบาลกลุ่มตัวอย่าง 972 แห่ง
(จำแนกตามประเภทของเทศบาล)
ตารางที่ 1-1 คุณลักษณะของเทศบาลกลุ่มตัวอย่าง 972 แห่ง (จ าแนกตามประเภทของเทศบาล)
ร้อยละของ งบประมาณ จ านวนประชากร พื้นที่เฉลี่ย
ประเภทของ จ านวน ร้อยละ เทศบาล รายจ่ายเฉลี่ย เฉลี่ย (คน) (ตร.กม.)
เทศบาล แห่ง สะสม
แต่ละประเภท (บาท)
เทศบาลนคร 12 1.2 48.0 677,266,281.5 99,180.5 30.4 คู่มือสำหรับนักบริหารงานท้องถิ่นในยุคใหม่
(45,744.4) (16.1)
เทศบาลเมือง 88 9.1 62.0 186,516,804.1 28,027.3 22.4
(16,229.0) (38.4)
เทศบาลต าบล 872 89.7 47.4 33,242,870.2 7,303.8** 34.1
(7,133.7) (49.9)
รวมทั้งหมด 972 100.0 48.4 55,298,486.1 10,272.0 33.7
(15,009.3) (49.1)
หมายเหตุ (1) ข้อมูลจ านวนเทศบาลมาจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ณ วันที่ 30 กันยายน 2553 (ข้อมูลล่าสุด); (2) ตัวเลขในวงเล็บ
หมายเหตุ (1) ข้อมูลจำนวนเทศบาลมาจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ณ วันที่ 30 กันยายน 2553
เป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน; (3) สัญลักษณ์ ** หมายถึงมีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ p<.05
(ข้อมูลล่าสุด); (2) ตัวเลขในวงเล็บเป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน; (3) สัญลักษณ์ ** หมายถึงมีความ
แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p<.05
วีระศักดิ์ เครือเทพ ทั้งนี้ เมื่อจำแนกเทศบาลกลุ่มตัวอย่างตามขอบเขตภารกิจในการให้
หน้า 10
บริการสาธารณะ (scope of service responsibilities) พบว่ามีความแตกต่าง
กันพอสมควร เทศบาลกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จัดให้มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
(ร้อยละ 88.0) การจัดเก็บขยะ (ดำเนินการเอง 710 แห่งและจ้างเหมาภาค
เอกชน 50 แห่ง) (คิดเป็นร้อยละ 78.2) และการกำจัด/การจัดการขยะ (ดำเนิน
การเอง 498 แห่งและจ้างเหมาภาคเอกชน/องค์กรปกครองท้องถิ่นอื่น 124
แห่ง) (คิดเป็นร้อยละ 64.0) ในทางตรงกันข้าม บริการสาธารณะด้านสถานี
ขนส่งและโรงบำบัดน้ำเสีย ซึ่งจัดอยู่ในกลุ่มของบริการเพิ่มเติม (auxiliary
services) นั้น มีเทศบาลกลุ่มตัวอย่างจำนวนเพียงร้อยละ 4.2 และ 6.1 ที่ได้
จัดให้มีการบริการทั้งสองด้านดังกล่าวตามลำดับ ทั้งนี้เทศบาลส่วนใหญ่
นิยมให้บริการตลาดสดในสัดส่วนที่สูงกว่าภารกิจทางเลือกด้านอื่นๆ (คิดเป็น
ร้อยละ 36.8 ของเทศบาลกลุ่มตัวอย่าง) ฉะนั้น จากกลุ่มตัวอย่างของ
เทศบาลที่มีความหลากหลายในด้านภารกิจเช่นนี้ ผู้อ่านจะเห็นได้ว่ากรอบ