Page 199 - kpi20756
P. 199

การประชุมวิชาการ
                                                                                        สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 21   1
                                                                                        ลดช่องว่างความเหลื่อมล้ำ สร้างคุณภาพประชาธิปไตย


                      ทั้งในแต่ละประเทศและกรอบการทำงานร่วมกันในระดับภูมิภาคเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทาง
                      การศึกษาของเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา


                      2. ความก้าวหน้าและอุปสรรคใน 30 ปีของการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทาง
                      การศึกษาในระดับนานาชาติ


                            แม้กระบวนการร่วมมือระดับนานาชาติเพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาจะมี
                      ประวัติศาสตร์มาต่อเนื่องยาวนานกว่ากว่า 30 ปี หลังจากการสนับสนุนปฏิญญาจอมเทียนที่ผู้นำ
                      ทั่วโลกเกือบ 200 ประเทศได้ประกาศเจตนารมย์ในการดำเนินการให้เด็กเยาวชนทุกคนเข้าถึง

                      และสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาได้ 100% แต่ปัจจุบันปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
                      ก็ยังคงไม่หายไปจากโลก และจากประเทศไทย


                            ปัจจุบัน ข้อมูลสถิติจากสถาบันสถิติแห่งองค์การยูเนสโก (UIS) ดังแสดงในภาพที่ 1 แสดง

                      ให้เห็นว่ายังมีเด็กเยาวชนในระดับนานาชาติมากกว่า 263 ล้านคนที่ยังคงอยู่นอกระบบการศึกษา
                      โดยในจำนวนนี้เป็นเด็กวัยประถมศึกษามากกว่า 60 ล้านคน


                       ภาพที่ 1 แนวโน้มการลดลงของจำนวนเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาของโลก (2000-2016)
































                            ที่น่ากังวลไปกว่าจำนวนเด็กนอกระบบการศึกษาในปัจจุบันคือ แนวโน้มความเหลื่อมล้ำ
                         ภาพที่ 1 แนวโน้มการลดลงของจ านวนเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาของโลก (2000-2016)
                      ทางการศึกษาในระดับนานาชาติที่แม้จะมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กนอกระบบ
                          ที่น่ากังวลไปกว่าจ้านวนเด็กนอกระบบการศึกษาในปัจจุบันคือ แนวโน้มความเหลื่อมล้้าทางการศึกษาใน
                      การศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ทั่วโลกที่เคยมีจำนวนมากกว่า 100 ล้านคน เมื่อปี 1990 ลดลง
                  ระดับนานาชาติที่แม้จะมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จ้านวนเด็กนอกระบบการศึกษา (ระดับประถมศึกษา) ทั่ว
                      เหลือราว 63 ล้านคนในปี 2017 หรือลดลงเกือบร้อยละ 40 ระหว่าง 1990-2007 แต่ตลอด
                      10 ปีที่ผ่านมา (2007-2017) จำนวนเด็กนอกระบบการศึกษาทั่วโลกมีอัตราที่ลดลงน้อยมาก
                  โลกที่เคยมีจ้านวนมากกว่า 100 ล้านคน เมื่อปี 1990 ลดลงเหลือราว 63 ล้านคนในปี 2017 หรือลดลงเกือบร้อย
                      ไม่ถึง 100,000 คน แสดงให้เห็นว่าความก้าวหน้าในการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา
                  ละ 40 ระหว่าง 1990-2007 แต่ตลอด 10 ปีที่ผ่านมา (2007-2017) จ้านวนเด็กนอกระบบการศึกษาทั่วโลกมี
                      ในทศวรรษที่ผ่านมาเริ่มชะลอตัวลง กลุ่มเป้าหมาย 5-10 % สุดท้ายยังเข้าไม่ถึงโอกาสทาง
                  อัตราที่ลดลงน้อยมาก ไม่ถึง 100,000 คน แสดงให้เห็นว่าความก้าวหน้าในการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา       เอกสารประกอบการสัมมนากลุ่มย่อยที่ 4
                      การศึกษา หรือต้องออกจากการเรียนกลางคัน เพราะปัญหาสภาพเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ ฯลฯ
                  ในทศวรรษที่ผ่านมาเริ่มชะลอตัวลง กลุ่มเป้าหมาย 5-10% สุดท้ายยังเข้าไม่ถึงโอกาสทางการศึกษา หรือต้องออก
                  จากการเรียนกลางคัน เพราะปัญหาสภาพเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ ฯลฯ  ที่น่ากังวลไปกว่านั้นคือ ตัวเลขเด็กนอก

                  ระบบการศึกษาเริ่มกลับมามีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นระหว่างปี 2016-2017 อีกครั้ง


                  3. สถานการณ์ความเหลื่อมล้ าในระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน: การวิเคราะห์ของคณะกรรมการอิสระเพื่อ
                  การปฏิรูปการศึกษา


                                                                                                                73
                          จากรายงานการศึกษาระหว่างปี 2560-2562 ของคณะกรรมอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.)  ที่
                  คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งขึ้นตามรัฐธรรมมนูญมาตรา 261 น้าเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลรายบุคคลจากข้อมูลทะเบียน

                  ราษฎร์ของกระทรวงมหาดไทย และข้อมูลทะเบียนนักเรียนทุกสังกัดในระบบการศึกษาที่รวบรวมโดยส้านัก






                  73  ปฏิรูปการศึกษาไทย: รายงานของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) (2562)
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204