Page 30 - kpi20858
P. 30

17






                            ชาๆ ไป ขาดความเร้าใจแก่ผู้อ่านผู้ดูหรือผู้ฟังส่วนมากให้มีความชื่นชมยินดี ถ้ามีลักษณะ
                                                        15
                            เช่นนี้ก็สู้ศิลปกรรมพอดีพองามไม่ได้

                              จากข้อความข้างต้น  แสดงให้เห็นถึงการให้ความส าคัญต่ออารมณ์และความรู้สึก  ที่ได้รับ
                       จากการชื่นชมผลงานชิ้นนั้นๆ  ด้วย  ทั้งนี้มูลเหตุของความนิยมยกย่องความสมบูรณ์ด้านรูปแบบ

                       และความถึงพร้อมในด้านอารมณ์ที่น ามาซึ่งความยินดีด้วย สืบเนื่องมาจาก ศาสตราจารย์ศิลป์  พี

                       ระศรี ผู้เป็นเรี่ยวแรงส าคัญในการร่างหลักสูตรการเรียนการสอนในโรงเรียนประณีตศิลปกรรม มี
                       ต้นแบบจากสถาบันศิลปะแบบยุโรป โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากฟลอเรนซ์บ้านเกิด และสถาบันที่ศิลป์

                       พีระศรีเรียนจบมา หลักสูตรวิชาการทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ถูกวางไว้อย่างเข้มงวดเพื่อให้ได้

                                                               16
                       มาตรฐานแบบศิลปะตามหลักวิชาของตะวันตก   ซึ่งมีแนวทางการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นพัฒนา
                       ศักยภาพด้านศิลปะด้วยวิธีการฝึกฝนทักษะเป็นรากฐาน    จึงท าให้ศิลปะตามหลักวิชาเป็นที่แพร่

                       หลายในสังคมไทยยิ่งขึ้น  ประกอบกับพระราชนิยมของชนชั้นปกครองในประเทศไทยที่มีความชื่น
                       ชมศิลปะแบบเหมือนจริง ซึ่งต้องอาศัยทักษะความรู้เชิงศิลปะตามหลักวิชา สิ่งทั้งหลายเหล่านี้เป็น

                       ผลท าให้ศิลปะตามหลักวิชาได้รับความสนใจ  จนกลายเป็นกระแสหลักในหมู่ชนชั้นปกครองและ

                       เจ้านายในช่วงเวลาดังกล่าว


                              หากกล่าวถึงความเป็นมาของของศิลปะตามหลักวิชา ถือเป็นรูปแบบหนึ่งที่ทรงอิทธิพลต่อ
                                                                             17
                       การสร้างสรรค์ในตะวันตกตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรรษที่  16  และ  17   กระทั่งเกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
                       การเมืองทั่วยุโรป ตลอดจนการเกิดลัทธิสมัยใหม่ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งต่อต้านกระแสการสร้าง

                       งานแบบศิลปะตามหลักวิชา เป็นผลท าให้ความนิยมในศิลปะตามหลักวิชาค่อยๆ เสื่อมลง  ทั้งนี้

                       วิรุณ ตั้งเจริญ ได้กล่าวถึงความเป็นมาของศิลปะตามหลักวิชาดังนี้

                                  ค าว่าอะคาเดมิค อาร์ต (Academic Art) มีความสัมพันธ์กับอะคาเดมี (Academy)

                            หรือสถาบันศิลปะหลักวิชาโดยที่อะคาเดมีในอดีตของยุโรป มุ่งเน้นการศึกษาและสืบทอด
                            แบบแผนจากกรีกโบราณและโรมัน  แบบแผนของศิลปะสมัยฟื้นฟูศิลปะและวิทยาการ

                            และแบบแผนที่ได้รับการพัฒนาสืบต่อกันมา   อาคาเดมีสถาปนาขึ้นในอิตาลีช่วงคริสต์









                           15  เรื่องเดียวกัน,18.

                           16  สุธี คุณาวิชยานนท์, จำกสยำมเก่ำสู่ไทยใหม่: ว่ำด้วยควำมพลิกผันของศิลปะจำกประเพณีสู่สมัยใหม่และ
                       ร่วมสมัย, 41.
                           17  Richard Osborne and Dan Sturgis, Art Theory for Beginners (London: Zidane Press, 2006), 47.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35