Page 175 - 21736_Fulltext
P. 175
154
อาจารย์มานิต: มีทักษะในการเจรจา คือต้องผ่านการอบรมการเจรจาไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
ต้องมีประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เช่น ให้รุ่นน้องคอยดูตัวอย่างจากรุ่นพี่ก่อน โดยนั่งดูนั่ง
ฟังไปก่อน ถ้าเป็นในสภานักเรียนเราจะใช้พี่ ม.5 ซึ่งขาดประสบการณ์
อาจารย์พิชัย เพิ่มพูศรี: คนกลางต้องเป็นที่ยอมรับและมีจิตอาสา มีความยุติธรรม
แม่วิภา: การได้รับการยอมรับจากเพื่อน พูดแล้วก่อให้เกิดความเป็นธรรม
- มีน้ำใจให้ความอาทรกับคนรับ
- เอื้อเฟื้อ
- มีเจตคติ/เจตนารมณ์ที่ดี
- ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว
- ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ได้รับการฝึกฝนกระบวนการพวกนี้
- ผ่านกระบวนการที่ดีเป็น process
- ไม่เข้าข้างฝ่ายใด
- การจัดโต๊ะเจรจา จุดที่นั่ง ไม่แบ่งแยกคน
- การให้โอกาสคน
- กำหนดกติกา ไม่ให้ถูกบังคับ เช่น ผู้ไกล่เกลี่ยไม่กำหนดเวลาในการพูด อาจให้คู่กรณี
กำหนดเอง
- พูดแล้วทุกคนฟัง
- ให้ความเป็นกันอง
- หาหนทางให้กระบวนการเดินออกมาเองให้เหมาะสม
- คนกลางเป็นคนสรุป “เหมือนเป็นสัญญาประชาคม” โดยไม่ต้องบังคับด้วยกฎหมาย
“ครั้งนี้ผมผิดเอง ผมเริ่มต้นก่อน” ถ้าผมไม่เริ่มต้นก่อนก็จะไม่เกิดเรื่อง ผมจะใจเย็น
ลง
- โรงเรียนจะทำบันทึก ซึ่งมันจะติดตัวไป
- บันทึกข้อตกลงร่วมกัน ต้องไม่มีบทลงโทษ แต่เปลี่ยนเป็นทำงานร่วมกันดีกว่า
4.2 คู่กรณีควรเป็นอย่างไร (เช่น เป้าหมายร่วมกัน การเคารพมุมมองอีกฝ่าย อำนาจ
ใกล้เคียงกัน อำนาจตัดสินใจ การแสดงความรับผิดชอบ เป็นต้น)
เด็กหญิง ข: คู่กรณีควรต้องเห็นใจคนกลาง ไม่ใช้อารมณ์ในการพูดคุย
เด็กหญิง ก: คู่กรณีควรตั้งสติ ไม่ใช้อารมณ์