Page 177 - 21736_Fulltext
P. 177

156



                                 เด็กชาย บี: ควรมีความไว้วางใจคนกลาง สร้างความสัมพันธ์ให้เรื่องจบได้ง่าย – ต้องอยู่
                       ที่ตัวกลาง – คู่กรณี หากไม่ไว้วางใจก็จะจบยาก

                                 สุพัตรา: ควรมีความไว้วางใจ สร้างความไว้วางใจจากการรู้จักกัน เชื่อใจกัน เป็นพี่น้อง
                       หรือเป็นเพื่อนที่ดี ต้องเป็นกลาง ไม่เข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

                                 อัญชนา: ควรสร้างความสัมพันธ์อันดี อาจจะเริ่มพูดคุยกันก่อน เช่น ถามชื่อ – ชั้นเรียน

                       การวางใจให้ทำหน้าที่
                                 ชนาธิป: การที่จะให้คู่กรณีไว้วางใจได้ต้องใช้เวลาในการพูดคุยสักเล็กน้อยก่อนเริ่มการ

                       ไกล่เกลี่ย (เปิดใจ)
                                 นภดล: ควรมีการสร้างความสัมพันธ์ทั้ง 2 ฝ่าย ถ้าไม่มีความไว้วางใจต่อคนกลาง เพราะ

                       ทำให้คู่กรณีไม่เชื่อใจ ไม่แน่ใจในคำตัดสิน ถ้าพี่บกก็จะทำให้ประสบความสำเร็จดียิ่งขึ้นได้ เกิดจากการ

                       พูด การยิ้ม แสดงความเป็นกันเอง แสดงกิริยา
                                 นนทกาญจน์: ควรมีความไว้วางใจจะทำให้เกิดไว้เนื้อเชื่อใจ – ให้สำเร็จได้

                                 จุฑามาศ: ต้องสร้าง เรามาเพื่อเป็นคนกลาง มาเพื่อให้เกิดการอยู่ด้วยกันได้

                                 ควรมี ถ้าไม่มีความสัมพันธ์น้องก็จะไม่เชื่อใจ เช่น ให้น้องมาสร้างความ
                                 บุษรินทร์: ควรจะมีการสร้างความไว้วางใจ  เริ่มด้วยการพูดคุย อาจจะไม่ต้องพูดถึงเรื่อง

                       ทักษะ และชวนคุยเรื่องอื่นๆ ก่อน คู่กรณีสามารถไว้ใจคนกลางได้ว่าคนกลางจะไม่เอาเรื่องไปพูดต่อ
                       ให้คนในโรงเรียนรู้ ถ้าพูดต่ออาจจะสร้างความทะเลาะให้ต่อไป

                                 อาจารย์มานิต: มีความสำคัญ คือ คู่กรณีต้องแสดงความรับผิดชอบ เช่น การขอโทษ

                       เพื่อเป็นการสร้างความสัมพันธ์ เป็นการแสดงการยอมรับ ละมีการให้ทั้งคู่ทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อเป็น
                       การสร้างความสัมพันธ์อีกทางหนึ่ง

                                 อาจารย์พิชัย: ต้องมีความไว้วางใจ คนกลางต้องมีความเป็นกลางจริง  “ไม่เห็นพวก”
                       พิสูจน์จากความเป็นเพื่อนกัน รู้จักกันมาก่อน

                                 แม่วิภา: - มาก เยอะ (อันดับต้นๆ การยอมรับ ให้ความเชื่อถือ เช่น บ้านใกล้กัน)

                              4.4 บริบทสภาพแวดล้อมควรเป็นอย่างไร? (เช่น กฎกติกา  ระบบความเชื่อเดียวกัน ระบบ

                       เครือญาติ เป็นต้น)

                                 เด็กหญิง ข: อะไรเหมือนกันจะได้ block เดิมลงตัวมากกว่า

                                 เด็กชาย เอ:  คู่กรณี เป็นผู้ชายอาจจะให้พี่ไกล่เกลี่ยต่างเพศเข้ามาช่วย

                                 เด็กชาย บี: สภาพบริบท หาคนกลางที่ไว้ใจมาช่วยไกล่เกลี่ย ชายหรือหญิงก็ได้ – ใช้กฎ
                       กติกาเหมือนกัน – ใช้กฎในการไกล่เกลี่ย 3 ข้อ ผู้เจรจาควรจะเป็นรุ่นพี่

                                 นพดล: การไกล่เกลี่ยควรมีสิ่งที่เหมือนกัน เช่น ผู้หญิงทะเลาะกัน ควรใช้ผู้หญิงด้วยกัน

                       เข้าไปไกล่เกลี่ย เพราะผู้หญิงน่าจะเข้าใจผู้หญิงด้วยกันได้ลึกซึ้งมากกว่าให้ผู้ชายไกล่เกลี่ย
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182