Page 176 - 21736_Fulltext
P. 176

155



                                 เด็กชาย บี:  คู่กรณีควรแสดงความรับผิดชอบ “ขอโทษ” น่าจะทำให้เรื่องจบง่าย เช่น
                       ผิดก็ขอโทษ

                                 นนทกาญจน์: คู่กรณีควรให้ความเคารพความเป็นผู้เป็นกลาง ใจเย็น มีความเคารพ ช่วย
                       แก้ปัญหา ไปได้อย่างรวดเร็ว

                                 สุพัตรา: คู่กรณีควรมีสติ ใจเย็น เห็นใจคนกลาง

                                 อัญชนา: คู่กรณีควรให้ความร่วมมือ ควรปฏิบัติตามกฎของการเจรจา กฎการเจรจา
                       1. ไม่พูดโกหก 2. ไม่พูดคำหยาบ 3. ไม่พูดแทรก

                                 ชนาธิป: ใจเป็นกลาง ไม่ใจร้อน ช่วยฟังคนกลางพูด ให้ความร่วมมือในการไกล่เกลี่ย
                                 นภดล: ต้องเป็นคนที่เคารพความคิดของอีกฝ่าย เคารพคนกลาง ให้ความร่วมมือในการ

                       ไกล่เกลี่ยสำเร็จ

                                 จุฑามาศ: คู่กรณีควรจะเปิดใจรับฟัง ฟังเหตุผลของอีกฝ่าย
                                 นนทกาญจน์: คู่กรณีควรใจเย็น เปิดใจรับฟังความคิดเห็นอีกฝ่าย

                                 ปริยาภัทร: คู่กรณีควรรับฟังคนกลางเวลาคนกลางตัดสิน ใช้สติ ไม่ใช้อารมณ์

                                 บุษรินทร์: คู่กรณีควรยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้ไกล่เกลี่ย ฟังอีกฝ่ายหนึ่งพูดก่อน ไม่
                       พูดแทรกเพื่อลดความขัดแย้ง

                                 อาจารย์มานิต: คู่กรณีต้องเปิดใจ พูดในเรื่องที่เป็นจริง รับฟังกัน รักษากติกาในการ
                       เจรจา

                                 อาจารย์พิชัย: ใจเย็น มีสติ

                                 แม่วิภา: – กระบวนการแบบเด็ก
                                 - ต้องมีวัยใกล้เคียงกัน

                                 - ต้องยอมรับคนกลาง เชื่อมั่น
                                 - ต้องวางใจคนกลาง ไม่ต่อต้าน

                                 - ให้ข้อเท็จจริงของปัญหา

                                 - ความสำคัญของกระบวนการไกล่เกลี่ย
                                 - ให้ความร่วมมือ


                              4.3  การสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจควรมีหรือไม่ อย่างไร

                                 เด็กหญิง ก: ควรมีความสัมพันธ์ ควรมีความไว้ใจ (ไว้ใจระหว่างคู่กรณีกับคนกลาง)

                                 เด็กหญิง ข: ควรมีความไว้ใจกัน เพราะจะผลการตัดสินโดยมีความไว้ใจ ต้องมีความเชื่อ
                       ใจ เช่น หากเรารู้จัก คือ หากเขาทำหน้าที่ก็น่าจะไว้วางใจ – ความไว้วางใจจะเกิดขึ้นได้ต้องมีความ

                       เชื่อใจ ถ้ารู้จักกับคนกลางก็จะรู้จักนิสัยเขาด้วย ทำให้สามารถไว้ใจคนกลางได้
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181