Page 52 - kpiebook62015
P. 52
จากตารางที่ 3.1 พบค าและหลักการส าคัญในการเสริมสร้างพลังพลเมืองจากงาน
วิชาการและภาคสนามมีความสอดคล้องกันเป็นส่วนใหญ่ และจัดเป็นชุดองค์ความรู้เพื่อ
เสริมสร้างพลังพลเมือง ได้ดังนี้
3.2.1.1 ศักยภาพของสมาชิกชุมชน
3.2.1.2 ผู้น า (community leadership) และการบริหารจัดการชุมชน
(community management)
3.2.1.3 หลักการประชาธิปไตย (Foundations of democracy, Democracy
regime, Democratic citizenship)
3.2.1.4 การมีส่วนร่วม เป้าหมายร่วม และ พื้นที่สาธารณะ
3.2.1.5 การเรียนรู้ต่อเนื่องและการขยายผลเพื่อความยั่งยืน – การถอด
บทเรียนชุมชนเรียนรู้ (community learning ) การเชื่อมโยงสมาชิกในกลุ่มและองค์กรชุมชน
ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือการพัฒนาที่ลุ่มลึก (enrichment) และการขยายผลวง
กว้างจากตัวแบบและบทเรียนความส าเร็จ (enlargement)
3.2.1.6 การสื่อสารและระบบสื่อสาร
3.2.1.7 ความไว้วางใจในการท างานร่วมกัน (trust)
3.2.2 ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และตีความ (analytic / interpretive knowledge) ทั้ง
แนวคิด หลักการ และ การปฏิบัติ (technical knowledge)
ในการวิเคราะห์และตีความองค์ความรู้ในครั้งนี้ ก าหนดความหมายของ “องค์ความรู้ ,
6
Body of Knowledge, Knowledge“ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 ดังนี้
1. ความรู้ซึ่งได้มาจากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ แล้วน ามาบูรณาการเข้าเป็นความรู้ที่
สูงขึ้น ซึ่งการบูรณาการในที่นี้หมายถึงการผสมผสานเชื่อมโยงองค์ความรู้ตั้งแต่ 2 องค์ความรู้ขึ้น
ไปเข้าด้วยกันอย่างสอดคล้องเป็นระบบ
7
2. Body of knowledge / Knowledge
6
http://www.royin.go.th/?knowledges=body-of-knowledge-knowledge-
knowledge-management-km
7
http://www.royin.go.th/?knowledges=body-of-knowledge-knowledge-
knowledge-management-km
41